บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เรื่องมลภาวะทางเสียง และแรงสั่นสะเทือนน้อยกว่าเสาเข็มแบบทั่วไป

ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เรื่องมลภาวะทางเสียง และแรงสั่นสะเทือนน้อยกว่าเสาเข็มแบบทั่วไป เสาเข็มไอไมโครไพล์ ถูกออกแบบมาเพื่อการต่อเติม ป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้อย่างตรงจุด และเป็นที่นิยมใช้ในงานต่อเติมบ้าน เพราะขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อย เนื่องจากเสาเข็ม และปั้นจั่นที่ตอกถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างเดิม และพื้นที่ข้างเคียง อีกทั้งยังเสริมความมั่นคงแข็งแรงให้กับโครงสร้างเดิม และป้องกันการการทรุดตัวที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้างในอนาคต มลภาวะทางเสียงน้อย และเรื่องสะอาด สะดวก … Read More

SPUN MICROPILE คือ เสาเข็มต่อเติม – แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม)

SPUN MICROPILE คือ เสาเข็มต่อเติม – แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ด้วยเหตุผล เสาเข็ม คุณภาพสูง ได้รับมาตรฐาน มอก และ สามารถ รับน้ำหนักปลอดภัย … Read More

การแก้ไขฐานราก เมื่อจุดรองรับนั้น เป็นจุดรองรับแบบยึดแน่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ที่หน้างานได้มีการตอกเสาเข็มซึ่งจะถูกใช้ในโครงสร้างฐานราก F3 ผลจากการตอกเสาเข็มต้นแรกพบว่าไม่เป็นไปตาม BLOW COUNT ที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันเสาร์แบบนี้นะครับ และ เหมือนเช่นเคยนะครับ วันนี้ผมจะมีคำถามที่อยากจะขอเชิญชวนให้เพื่อนๆ นั้นได้มาร่วมสนุกตอบคำถามด้วยกันนะครับ จากรูปจะเห็นได้ว่า ผมต้องการที่จะทำการฝังถังบำบัดที่ทำจากวัสดุโพลีเอทธีลีนไว้ในบริเวณสวนด้านหลังบ้านที่มีขนาดความจุเท่ากับ 1800 ลิตร … Read More

1 2 3 4 191