บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ความรู้ในเบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่องสำคัญเรื่องหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องและถือได้ว่ามีความสำคัญมากๆ เกี่ยวกับเรื่องวิศวกรรมงานฐานรากและงานดินนั่นก็คือ โครงสร้างป้องกันมิให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES นั่นเองนะครับ   จุดประสงค์ของการก่อสร้างโครงสร้างป้องกันมิให้ดินพังนั้นก็ค่อนข้างที่จะตรงไปตรงมานั่นก็คือ … Read More

งานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET)

งานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET) ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ให้ได้ทราบถึงเรื่องหลักการทางด้านความปลอดภัยที่เราควรปฏิบัติในเรื่องเกี่ยวกับอัคคีภัยภายในอาคารกันนะครับ โดยที่ผมได้ทำการสรุปหลักการในการที่เราจะสามารถป้องกันอุบติภัยอันเนื่องมาจากอัคคีภัยไว้ทั้งสิ้น 10 ข้อดังรายละเอียดต่อไปนี้นะครับ (1) ในการออกแบบอาคารแต่ละอาคาร ผู้ออกแบบควรที่จะพิจารณาและทำการออกแบบรายละเอียดในหมวดการป้องกันอัคคีภัยให้มีความเหมาะสมกับประเภทของอาคารที่เรากำลังจะทำการก่อสร้างด้วยนะครับ (2) ในกรณีที่อาคารของเราจำเป็นที่จะต้องมีบันไดหนีไฟ ก็ควรที่จะเลือกใช้คุณภาพของบานประตูหนีไฟที่เหมาะสมกับอาคารและการใช้งานด้วยนะครับ (3) ในการติดตั้งเหล็กดัดต่างๆ ภายในอาคารเพื่อป้องกันขโมยเราควรที่จะเลือกใช้ระบบสปริงชนิดมีปุ่มกดสำหรับเปิดและปิดด้วยนะครับ … Read More

สร้างใหม่ทั้งที แม้ผ่านไปหลายปี ต้องไม่ทรุด ด้วยเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ Spun Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile

สร้างใหม่ทั้งที แม้ผ่านไปหลายปี ต้องไม่ทรุด ด้วยเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ Spun Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile การสร้างอาคารใหม่ ต้องตอกเสาเข็มเพื่อถ่ายน้ำหนักจากอาคารสู่ชั้นดินแข็ง จะต้องมีการออกแบบฐานราก โดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ โดยมีการคำนวณ และทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test คู่กับข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING … Read More

วิธีในการดูแลรักษาโครงสร้างเหล็กที่เหมาะสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขอนำเอาภาพและปัญหาจากกรณีจริงๆ ของโครงสร้างที่จัดอยู่ในประเภทโครงสร้างเหล็ก ซึ่งสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้น อาจจะเกิดได้จากหลายสาเหตุเลยนะครับ เช่น ผู้ออกแบบอาจจะเลือกใช้ขนาดความหนาของชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กที่มีความบางมากจนเกินไป โดยที่ผิวของเหล็กนั้นอาจจะไม่ได้รับการป้องกันไม่ให้เกิดสนิมดีเพียงพออีกต่างหาก ผนวกกับการที่โครงสร้างดังกล่าวอาจจะไม่ได้รับการตรวจสอบและดูแลดีเพียงพอจนในที่สุดเมื่อเวลาผ่านไปนานๆ เข้า เนื้อเหล็กนั้นก็เกิดการกร่อนและเสียหายในที่สุด เป็นต้น โดยเหตุผลที่ผมนำเอาปัญหาข้อนี้มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนก็เพื่อให้เพื่อนๆ ดูเอาไว้เป็นตัวอย่างและพึงระวังถึงปัญหาๆ … Read More

1 103 104 105 106 107 108 109 191