บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มเพื่อการต่อเติม สามารถป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้อย่างตรงจุด

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มเพื่อการต่อเติม สามารถป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้อย่างตรงจุด ปัญหาการทรุดตัวของส่วนต่อเติม เป็นปัญหาหลักของการต่อเติมบ้าน สาเหตุเกิดจากการเคลื่อนตัวของดิน และการตอกเสาเข็มที่ไม่ได้ความลึกที่ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม ดังนั้นการตอกเสาเข็มจึงเป็นสิ่งที่ควรให้ความสำคัญ เพราะเสาเข็มทำหน้าที่เป็นฐานราก ที่ป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้อย่างตรงจุด และการตอกเสาเข็มจะต้องตอกให้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง ภูมิสยามเราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสาเข็มของภูมิสยามได้รับ มาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ … Read More

ต่อเติมบ้าน เข้าพื้นที่แคบ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile มาตรฐาน มอก. โดย ภูมิสยาม

ต่อเติมบ้าน เข้าพื้นที่แคบ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile มาตรฐาน มอก. โดย ภูมิสยาม เสาเข็มคุณภาพสูง ได้รับมาตรฐาน มอก และ สามารถ รับน้ำหนักปลอดภัย 20-40 ตัน/ต้น เสาเข็มเรามีหลายขนาด ให้เลือก 21, … Read More

เสาเข็ม ไมโครไพล์ สำหรับงานต่อเติม รากฐาน 

เสาเข็ม ไมโครไพล์  สำหรับงานต่อเติม รากฐาน  เสาเข็มไมโครไพล์ มีหลายขนาดขึ้นอยู่กับการใช้งาน แต่ล่ะขนาดรับน้ำหนักไม่เท่ากัน ซึ่ง ขนาดที่นิยม ใช้ตอกภายในตัวบ้าน ที่มีน้ำหนักเบา ใช้ขนาด 21X21  แต่ถ้าต่อเติมตัวอาคารที่มีน้ำหนัก หนัก ใช้ 30X30 ซึ่งรับน้ำหนักได้ดีกว่า การตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ช่วยลดเสียงรบกวน … Read More

ปัญหาการคำนวณหาค่าการโก่งตัวค่าสูงสุดของคาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้แจ้งไปในสัปดาห์ที่แล้วว่า ในสัปดาห์นี้ผมจะมาทำการพูดถึงการใช้งาน แผนภูมิปฏิสัมพันธ์ หรือ INTERACTION GRAPH ในการคำนวณหาว่า เมื่อโครงสร้างเสาเข็มของเราจะต้องรับแรงกระทำตามแนวแกนหรือ AXIAL LOAD … Read More

1 119 120 121 122 123 124 125 191