บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เทคนิคในการเลือกใช้งานค่าแรงปฏิกิริยาของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาซึ่งรวมถึงเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาด้วยผมกำลังพูดถึงประเด็นเรื่อง วิธีการเติมโครงสร้างเสาเข็มใหม่เข้าไปในโครงสร้างฐานรากเดิมโดยที่ไม่เป็นการทำให้ตัวโครงสร้างฐานรากนั้นเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะทางด้านความสมมาตรไป ซึ่งประเด็นก็คือ ผมได้ให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ไปว่า หากเราเพิ่มโครงสร้างเสาเข็มเข้าไปใหม่ โดยที่มีขนาดเท่าๆ กันกับโครงสร้างเสาเข็มเดิมก็จะไม่มีปัญหาอันใด แต่ หากเราเพิ่มโครงสร้างเสาเข็มเข้าไปใหม่ … Read More

เสาเข็ม ต่อเติมหน้าบ้าน แนะนำหน่อยครับ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มอก. BSP ภูมิสยาม ดีไหมครับ?

เสาเข็ม ต่อเติมหน้าบ้าน แนะนำหน่อยครับ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มอก. BSP ภูมิสยาม ดีไหมครับ? แนะนำเลยครับ เพราะว่า หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย – สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร หรือ ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน … Read More

ตัวอย่างการคำนวณเปรียบเทียบค่าความสามารถในการรับน้ำหนักปลอดภัยระหว่างกรณีของเสาเข็มสปันไมโครไพล์และโครงสร้างเสาเข็มเจาะ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้นำเอาประเด็นคำถามเกี่ยวกับเรื่องความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็มในหัวข้อที่ว่า เหตุใดเวลาที่เราทำการคำนวณโครงสร้างเสาเข็มที่มีรูปทรง หรือ มีขนาดกว้างและยาว หรือ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ที่เท่าๆ กัน … Read More

การระมัดระวังไม่ให้ชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กที่เป็นโครงถักนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปผิดไปจากสมมติฐาน

การที่เราควรที่จะระมัดระวังมิให้ชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กที่เป็นโครงถักนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปผิดไปจากสมมติฐาน ที่มาของปัญหานี้ คือ เวลาที่ผู้ออกแบบทำการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ (MATHEMATICAL STRUCTURAL MODEL) ขึ้นมาเพื่อทำการวิเคราะห์และออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างโครงถักเหล็ก เรามักที่จะทำการจำลองให้ตำแหน่งของศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของชิ้นส่วนโครงสร้างนั้นตรงกัน (เหมือนในรูปด้านบนนะครับ) แต่ ในสภาพความเป็นจริงเวลาที่ช่างทำการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กมักที่จะทำงานโดยอาศัยความง่ายในการทำงานเอาไว้ก่อน ทำให้แนวศูนย์กลางของชิ้นส่วนนั้นไม่ตรงตามสมมติฐานข้อนี้ อันจะทำให้เกิดระยะเยื้องศูนย์ (ECCENTRICITY หรือ e) ขึ้นซึ่งระยะเยื้องศูนย์นี้จะทำให้เกิดแรงดัดที่ไม่ได้ตั้งใจ (UNINTENTIONAL MOMENT) … Read More

1 128 129 130 131 132 133 134 191