ต่อเติมภายในอาคาร ภายในโรงงาน แนะนำ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม)
ต่อเติมภายในอาคาร ภายในโรงงาน แนะนำ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 … Read More
การทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม วิธีการที่จะมีความนิยมนำมาใช้ก็คือ PARALLEL SEISMIC TEST
การทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม วิธีการที่จะมีความนิยมนำมาใช้ก็คือ PARALLEL SEISMIC TEST ซึ่งการทดสอบหาค่าขนาดความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธี PARALLEL SEISMIC TEST นั้นจะต้องเริ่มต้นจากการที่เราจะต้องมีข้อมูลหรือหากไม่มีข้อมูลใดๆเลย ต้องทำการคาดเดาก่อนว่าเสาเข็มต้นที่เราต้องการจะทำการทดสอบนั้นจะมีความลึกประมาณเท่าใด หลังจากนั้นก็ให้ทำการสร้างหลุมเจาะขึ้นมาโดยให้อยู่ภายในรัศมีไม่เกินประมาณ 1500 มม. จากตำแหน่งของโครงสร้างเสาเข็มที่เราต้องการที่จะทำการทดสอบ ต่อมาเราจะอาศัยการส่งถ่ายสัญญาณในลักษณะคลื่นลงไป ซึ่งเราจะค่อยๆ ทำการส่งผ่านให้คลื่นดังกล่าวนั้นเดินทางลงไปในโครงสร้างฐานรากและโครงสร้างเสาเข็มโดยที่เรามักจะใช้อุปกรณ์จำพวกค้อนกระแทกให้ทำหน้าที่เป็นตัวออกแรงกระแทกเพื่อที่จะได้ส่งสัญญาณคลื่นนี้ลงไป (โดยที่มีข้อแม้อยู่นิดหนึ่งว่า ด้านบนของโครงสร้างฐานรากหรือโครงสร้างเสาตอม่อนั้นจะต้องมีความต่อเนื่องกันกับโครงสร้างเสาเข็ม) … Read More
เสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม ตอกรับพื้นถนน เพื่อความมั่นคงแข็งแรงไม่ทรุดตัว
เสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม ตอกรับพื้นถนน เพื่อความมั่นคงแข็งแรงไม่ทรุดตัว เสาเข็มไอไมโครไพล์ เสาเข็มรูปตัวไอ เป็นเสาเข็มเพื่อการก่อสร้างและต่อเติม เพื่อแก้ปัญหาการทรุดตัว และเหมาะสำหรับใช้เป็นฐานราก ตลอดจนงานปรับปรุงโครงสร้างหรือฐานรากที่ต้องการเสริมความมั่นคงแข็งแรง และเสาเข็มไอไมโครไพล์ ก็เป็นอีกทางเลือกสำหรับงานตอกรับพื้นถนน ที่ต้องการรับน้ำหนักหนักปลอดภัย ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม และการตอกเสาเข็มไอไมโครไพล์ของทางภูมิสยาม มีวิศวกรกำกับดูแลงาน ตลอดจนทีมช่างตอกเสาเข็มที่มีประสบการณ์ มีการทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic … Read More
หากเปลี่ยนจาก เสาตอม่อแบบเดียว (ISOLATED PIER) ไปเป็น เสาตอม่อกลุ่ม (GROUP OF PIERS)
สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ถามผมต่อเนื่องจากเรื่องราวของฐานรากแผ่ที่ผมเคยโพสต์ไว้สักพักแล้วนะครับว่า “หากเราเปลี่ยนจาก เสาตอม่อแบบเดียว (ISOLATED PIER) ไปเป็น เสาตอม่อกลุ่ม (GROUP OF PIERS) จะทำให้พฤติกรรมของฐานรากนี้เปลี่ยนไปหรือไม่ ? การออกแบบนั้นจะยุ่งยากเพิ่มขึ้นมากหรือไม่ และ เราควรพิจารณาทำการออกแบอย่างไรจึงจะเหมาะสม” ก่อนอื่นผมขอชื่นชมน้องท่านนี้ก่อนนะครับว่าคำถามๆ นี้เป็นคำถามที่ดีและน่าสนใจมาก … Read More