ต้องการตอกเสาเข็มต่อเติมในพื้นที่ ที่ต้องการความปลอดภัยสูง สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE โดย BSP-Bhumisiam
ต้องการตอกเสาเข็มต่อเติมในพื้นที่ ที่ต้องการความปลอดภัยสูง สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE โดย BSP-Bhumisiam ต้องการตอกเสาเข็มต่อเติมในพื้นที่ ที่ต้องการความปลอดภัยสูง ได้มาตรฐาน การรับน้ำหนักเชื่อถือได้ ทำได้ไหมคะ? ได้ครับแนะนำเสาเข็มสปันไครไพล์ ตอกแล้วไม่กระทบโครงสร้างเดิม โดย BSP-Bhumisiam ตัวอย่าง ผลงานของเรา งานการไฟฟ้า การประปา … Read More
เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มต่อเติม หรือสร้างใหม่โดยภูมิสยาม
เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มต่อเติม หรือสร้างใหม่โดยภูมิสยาม คิดจะสร้างใหม่ หรือต่อเติมบ้าน พื้นที่โล่งหรือพื้นที่จำกัด ต้องการใช้เสาเข็มคุณภาพที่มีความแข็งแกร่งสูง แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. 397-2524 เสาเข็มที่เหมาะสำหรับต่อเติมบ้าน เพราะหน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย ต้องเสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ ภูมิสยาม Miss … Read More
วิธีพิจารณาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็ม FOUNDATION
วิธีพิจารณาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็ม ก่อนอื่นจะต้องทราบก่อนว่า กำลังออกแบบให้โครงสร้างฐานรากของเรานั้นมีสมมติฐานเป็นแบบใดระหว่าง “ฐานรากที่มีความอ่อนตัว FLEXIBLE FOUNDATION” หรือว่าเป็น “ฐานรากที่มีความแข็งตัว RIGID FOUNDATION” พอทราบสมมติฐานข้างต้นแล้ว ก็จะมีเกณฑ์ในเรื่องของการคำนวณหาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด หากว่าโครงสร้างฐานรากนั้นเป็นฐานรากที่มีความอ่อนตัว สำหรับกรณีนี้จะไม่มีข้อจำกัดเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด เพราะโครงสร้างฐานรากก็จะต้องเกิดการเสียรูปได้อยู่แล้ว ดังนั้นจึงไม่มีความจำที่จะต้องทำการคำนึงถึงเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด หากว่าโครงสร้างฐานรากนั้นเป็นฐานรากที่มีความแข็งตัว สำหรับกรณีนี้จะต้องพิจารณาเรื่องข้อจำกัดในเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด เพราะว่าเวลาออกแบบโครงสร้างฐานรากโดยอาศัยสมมติฐานนี้นั่น ก็เท่ากับว่ากำลังอาศัยทฤษฎีของแผ่นเปลือกหนาหรือ … Read More
โครงสร้างของอาคารเกิดการวิบัติ ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งนั้นเกิดจากคุณภาพของรอยเชื่อมไม่ดีหรือไม่ได้คุณภาพ
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากโพสต์ของเมื่อวานนี้ที่ผมได้นำความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบลักษณะคุณภาพของรอยเชื่อมว่าแบบใดที่จัดว่า ดี และแบบใดที่จัดได้ว่า ไม่ดี วันนี้ผมจะขออนุญาตนำภาพเหตุการณ์จริงๆ ที่น่าจะเพิ่งเกิดขึ้นไม่นานมานี้ที่โครงสร้างของอาคารแห่งหนึ่งนั้นเกิดการวิบัติขึ้น ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งนั้นเกิดจากการที่คุณภาพของรอยเชื่อมนั้นไม่ดีหรือไม่ได้คุณภาพนั่นเองครับ จากรูปจะเห็นได้ว่าอาคารนี้เป็นอาคารคล้ายๆ กับอาคารโกดังเก็บสินค้า … Read More