บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)เสาเข็มที่เหมาะสำหรับงานต่อเติมอาคาร บ้านเรือนต่างๆ

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)เสาเข็มที่เหมาะสำหรับงานต่อเติมอาคาร บ้านเรือนต่างๆ ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ทำให้การขยายหรือต่อเติม เป็นไปตามที่ต้องการ สามารถตอกชิดกำแพง หรือผนังบ้านได้ ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหายหรือแตกร้าว ไม่มีผลกระทบต่อเพื่อนบ้าน เพราะขณะตอกมีแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง หน้างานสะอาดไม่มีดินโคลน จึงเป็นที่นิยมมากในงานต่อเติม ต้องการเสาเข็มที่มีคุณภาพ … Read More

จะสร้างอาคารใหม่ สามารถใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ได้ไหมครับ? ตอกได้ลึกกี่เมตรครับ ?

จะสร้างอาคารใหม่ สามารถใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ได้ไหมครับ? ตอกได้ลึกกี่เมตรครับ ? ได้ครับ Bhumisiam (ภูมิสยาม) พร้อมบริการ ตอกเสาเข็มสำหรับสร้างอาคารใหม่ หรือเสริมอาคารเดิม เสาเข็มเราสามารถตอกลึกถึงชั้นดินดาน เช่น 18-24 เมตรสำหรับพื้นที่โซนกรุงเทพฯ ปริมณฑล สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร หรือ … Read More

ต่อเติมโรงงาน ต่อเติมพื้นที่จำกัด แนะนำ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile มาตรฐาน มอก. โดย ภูมิสยาม

ต่อเติมโรงงาน ต่อเติมพื้นที่จำกัด แนะนำ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile มาตรฐาน มอก. โดย ภูมิสยาม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มคุณภาพสูง ได้รับมาตรฐาน มอก.397-2524 มาตรฐานการออกแบบการผลิตและตอก ISO 9001:2015 และชีวอนามัยด้านความปลอดภัยในการตอก ISO 45001:2018  … Read More

ความแข็งเกร็ง หรือ STIFFNESS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมนำความรู้เกี่ยวกับคำว่า ความแข็งเกร็ง หรือ STIFFNESS มาฝากเพื่อนๆ สักเล็กน้อยนะครับ เพื่อนๆ อาจเคยสงสัยใช่มั้ยครับ ทุกๆ ครั้งที่ได้ยินคำว่า ความแข็งเกร็ง หรือ STIFFNESS เวลาที่ต้องเกี่ยวข้องกับงานทางด้านกลศาสตร์ของวัสดุ หรือ การวิเคราะห์โครงสร้าง จริงๆ แล้วทำไมวิศวกร … Read More

1 164 165 166 167 168 169 170 191