บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มต่อเติมโรงงาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam ครับ

เสาเข็มต่อเติมโรงงาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam ครับ สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร ต่อเติมโรงงาน หรือ ต่อเติมบ้าน ด้วยเสาเข็ม มาตรฐาน มอก. กำลังมาแรง วันนี้ Mr.Micropile มีภาพการเตรียมต่อเติมต่อเติมโรงงาน … Read More

การคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอก

การคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอก หลายๆ คนอาจจะมีความสงสัยกันใช่มั้ยครับ ว่าการคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอกนั้นทำได้ยากหรืออย่างไรกันนะ ? ไม่ยากครับ แต่ ด้วยความที่มันง่ายนั้นเพื่อนๆ หลายคนก็มักที่จะลืมคิดถึงปัจจัยอื่นๆ ที่อาจเกี่ยวข้อง ทำให้บางครั้งการดัดเหล็กปลอกจริงๆ นั้นทำออกมาแล้วมีระยะที่สั้นกว่าระยะตามมาตรฐานซึ่งจะเป็นทำให้ต้องทำการดัดเหล็กปลอกนี้ใหม่ และ ในบางครั้งก็มีระยะที่ยาวมากเกินความจำเป็นทำให้สิ้นเปลืองเหล็กมากจนเกินไป ตัวอย่างเช่น ระยะของเหล็กที่เกิดจากองศาการงอที่มุมต่างๆ ของหน้าตัดโครงสร้าง เพราะ ระยะนี้จะขึ้นกับระยะ สผก … Read More

วิศวกรรมการคำนวณ – การออกแบบการสั่น อันเนื่องมาจากเครื่องจักร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อสัปดาห์ก่อนว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเอามามาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและหากจะว่ากันด้วยเรื่องรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่องๆ นี้แล้วเนื้อหาทั้งหมดของมันนั้นมีอยู่ด้วยกันค่อนข้างที่จะเยอะมากเลยทีเดียว ดังนั้นเพื่อให้การโพสต์ตลอดก่อนที่จะถึงช่วงปีใหม่นั้นมีความกระชับและได้ประโยชน์สูงสุดผมจึงจะขออนุญาตเลือกหัวข้อที่มีความสำคัญมาก 2 ประเด็นมาพูดถึงนั่นก็คือ 1. รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร 2. รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้พูดถึงหัวข้อที่ 1 เรื่องรูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร และในสัปดาห์นี้ซึ่งก็คือวันศุกร์ที่ 25 ก็จะถือได้ว่าเป็นวันศุกร์สุดท้ายของปี … Read More

ผลของการที่เราไม่นำผลของค่าการเสียรูปอันเนื่องมาจากแรงเฉือน หรือ SHEAR DEFORMATION มาใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ จริงๆ แล้วปัญหาที่ผมจะขอนำมาหยิบยกมาเพื่อใช้เป็นกรณีศึกษาในวันนี้ก็จะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องงานออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างซึ่งหัวข้อก็คือ ผลของการที่เราไม่นำผลของค่าการเสียรูปอันเนื่องมาจากแรงเฉือน หรือ SHEAR DEFORMATION มาใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างนั่นเองครับ   ผมเชื่อว่าเพื่อนๆ วิศวกรโครงสร้างหลายๆ คนคงจะกำลังเจออยู่หรืออย่างน้อยต้องเคยมีโอกาสได้ประสบพบเจอกับปัญหานี้กันมาบ้างไม่มากก็น้อย โดยที่ปัญหาๆ นี้จะเกิดขึ้นเกือบจะในทุกๆ ครั้งที่เราทำการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยกระบวนการทาง … Read More

1 168 169 170 171 172 173 174 191