การวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ที่เป็นวิศวกรที่มีความต้องการที่จะทำการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดในทิศทางเดียว (ONE WAY FLEXURAL ANALYSIS) แบบประมาณการ หรือ ด้วยวิธีการอย่างง่าย นั่นก็คือ การวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI นั่นเองนะครับ ขั้นตอนในการวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI นั้นสามารถทำได้ง่ายๆ นะครับ แต่ … Read More
เสาเข็มไมโครไพล์ spunmicropile รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์
เสาเข็มไมโครไพล์ spunmicropile รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์ เพิ่มเติม พื้นที่ค่อนข้างจำกัด ทำได้ไหมครับ – ได้ครับตามภาพ เสาเข็มที่แข็งแกร่งสูง และตอบโจทย์การก่อสร้างในพื้นที่จำกัด งานเสร็จเร็ว วิศวกรแนะนำให้ใช้สปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. และ การตอกมีมาตรฐาน ISO 9001 ไม่เลอะดินโคลนแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน … Read More
“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” ความยากง่ายในการวิเคราะห์โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กและโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการไขข้อข้องใจกับปัญหาๆ หนึ่งที่ผมเคยได้ถูกสอบถามเข้ามาหลายครั้งแล้วว่า ระหว่างการวิเคราะห์ โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก เปรียบเทียบกันกับการวิเคราะห์ โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ โครงสร้างแบบใดที่จะสามารถทำการวิเคราะห์โครงสร้างออกมาได้ง่ายหรือยากกว่ากัน? ผมขอตอบแบบกว้างๆ แบบนี้ก็แล้วกันว่า เนื่องจากว่าการที่โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กนั้นถือได้ว่าเป็นโครงสร้างประเภทวัสดุผสมหรือ COMPOSITE MATERIAL … Read More
การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากโพสต์ในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ที่ผมได้ทำการอธิบายและยกตัวอย่างถึงวิธีในการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งหรือว่าสติฟเนสในการต้านทานแรงกระทำทางด้านข้างของดินหรือว่าค่า Ksh ไปซึ่งผลก็ปรากฏว่าค่า Ksh(x) สำหรับพื้นที่รับผิดชอบแต่ละสีนั้นจะมีค่าเท่ากับ Ksh(x) (GREEN) =3,102 T/M … Read More