ประเภทของแรงเค้นกันต่อ
สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกท่าน มาต่อจากเนื้อหาเมื่อวันก่อนที่ผมได้อธิบายไปถึงประเภทของแรงเค้นกันต่อนะครับ โดยหากจำแนกประเภทของแรงกระทำหลักๆ ที่กระทำต่อหน้าตัดของโครงสร้างจะพบว่าประกอบด้วย (1) NORMAL FORCE (N) (2) SHEAR FORCE (V) (3) BENDING FORCE (M) (4) TORSIONAL FORCE (T) … Read More
การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) นะครับ เนื่องจากเมื่อวานผมโพสต์เกี่ยวกับเรื่องประเด็นการคำนวณหาค่าการโก่งตัวทางด้านข้างในอาคารสูงไป ปรากฎว่าได้รับผลการตอบรับค่อนข้างดีเลยนะครับ และ มีคำถามตามมาจากเพื่อนๆ ของผมด้วยว่า มีวิธีการโดยประมาณในการคำนวณหาค่า Δ ในแต่ละชั้นหรือไม่ครับ ? ผมขออนุญาตตอบตรงนี้เลยนะครับว่า มีครับ … Read More
การขนาดหน้าตัดของคาน คสล สำหรับโครงสร้างที่มีความยาวช่วงที่สูง
การขนาดหน้าตัดของคาน คสล สำหรับโครงสร้างที่มีความยาวช่วงที่สูง BSP ภูมิสยาม ไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์ micropile เสาเข็มต่อเติม ตอกเสาเข็มไมโครไพล์ ขนาด เรื่องการประมาณการขนาดหน้าตัดของคาน คสล สำหรับโครงสร้างที่มีความยาวช่วงที่สูง หรือ ที่เรานิยมเรียกกันว่า LONG SPAN นะครับ ก่อนอื่นผมต้องขอให้เล่าให้ทราบก่อนนะครับ … Read More
ผลจากการกำหนดให้ใช้ความยาว ของโครงสร้างเสาเข็มที่ไม่เท่ากัน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ก่อนนั้นผมได้นำเอากรณีตัวอย่างของการทำงานการก่อสร้างเสาเข็มที่มีคุณภาพแบบแย่ๆ ว่าเป็นอย่างไร ซึ่งก็พบว่าได้รับความสนใจจากเพื่อนๆ แฟนเพจไม่น้อยเลยทีเดียวและใต้โพสต์ในวันเดียวกันนั้นก็มีรุ่นน้องวิศวกรของผมเองได้คอมเม้นต์สอบถามมาโดยที่มีใจความของคำถามว่า “สำหรับกรณีของการใช้โครงสร้างเสาเข็มเล็กในฐานรากที่ใช้โครงสร้างเสาเข็มใหญ่จะมีวิธีการแก้ไขอย่างไรดีครับ เช่น กรณีที่โครงสร้างเสาเข็มนั้นมีจำนวนทั้งสิ้น 7 ต้น จะต้องทำการคำนวณหาน้ำหนักบรรทุกที่จะถ่ายลงมาที่โครงสร้างเสาเข็มต่อต้นใหม่ทั้งหมดใช่หรือไม่ครับ … Read More