บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ระบบของฐานรากของอาคารเบิร์จคาลิฟา และหอเอนปีซ่า

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในช่วยปลายของสัปดาห์นี้ไปจนถึงช่วงปลายๆ ของสัปดาห์หน้า แอดมินมีกำหนดการที่จะต้องเดินทางไป ณ ประเทศไต้หวัน เพื่อไปนำเสนอผลงานการทำงานวิจัยในระดับ ป เอก ที่กำลังศึกษาอยู่ ทางแอดมินจึงอยากจะขออนุญาตเพื่อนๆ ทุกคนทำการปรับเปลี่ยนผังและแผนของการโพสต์สักเล็กน้อย ทั้งนี้ก็เพื่อให้แอดมินนั้นสะดวกและเราเราก็ยังจะได้สามารถพบกันได้ในทุกๆ วันเหมือนเช่นเคยได้นั่นเองครับ   ในวันอาทิตย์แบบนี้ ผมก็จะนำเอาคำถามหรือปัญหาประจำสัปดาห์ที่ได้ฝากเอาไว้เมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมาๆ เฉลยให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนนะครับ … Read More

สร้างใหม่ทั้งที แม้ผ่านไปหลายปี ต้องไม่ทรุด ด้วยเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ Spun Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile

สร้างใหม่ทั้งที แม้ผ่านไปหลายปี ต้องไม่ทรุด ด้วยเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ Spun Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile การสร้างอาคารใหม่ ต้องตอกเสาเข็มเพื่อถ่ายน้ำหนักจากอาคารสู่ชั้นดินแข็ง จะต้องมีการออกแบบฐานราก โดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ โดยมีการคำนวณ และทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test คู่กับข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) นะครับ เนื่องจากเมื่อวานผมโพสต์เกี่ยวกับเรื่องประเด็นการคำนวณหาค่าการโก่งตัวทางด้านข้างในอาคารสูงไป ปรากฎว่าได้รับผลการตอบรับค่อนข้างดีเลยนะครับ และ มีคำถามตามมาจากเพื่อนๆ ของผมด้วยว่า มีวิธีการโดยประมาณในการคำนวณหาค่า Δ ในแต่ละชั้นหรือไม่ครับ ? ผมขออนุญาตตอบตรงนี้เลยนะครับว่า มีครับ … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นจะเป็นหนึ่งในหัวข้อที่ผมได้ทำการโพสต์ไปในสัปดาห์ที่ผ่านมานั่นก็คือเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ โดยที่ใจความของคำถามในวันนี้คือ หากผมมีอาคารที่มีขนาดความสูงเท่ากับ 2 ชั้น ซึ่งมีค่า คาบการสั่นตามธรรมชาติ หรือ NATURAL PERIOD เท่ากับ 0.20 วินาที และ หากทำการคำนวณหาค่าความถี่ตามธรรมชาติ หรือ NATURAL … Read More

1 16 17 18 19 20 21 22 191