บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

SUPPORT ที่มีลักษณะเป็น ELASTIC SUPPORT หรือเรียกง่ายๆ ว่าเป็น SPRING SUPPORT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาขอตอบคำถามให้แก่น้องวิศวกรท่านหนึ่งที่เคยสอบถามผมมาเมื่อตอนช่วงที่ผมโพสต์เกี่ยวกับเรื่อง SUPPORT ที่มีลักษณะเป็น ELASTIC SUPPORT หรือเรียกง่ายๆ ว่าเป็น SPRING SUPPORT นั่นเองครับ โดยคำตอบที่ผมเตรียมจะมาตอบในวันนี้ผมขอใช้วิธียก ตย ให้แก่เพื่อนๆ เลยละกันนะครับ เพื่อนๆ จะได้เข้าใจได้โดยง่าย เห็นภาพชัดๆ พร้อมๆ … Read More

คอนกรีตแข็งตัวเร็ว

คุณสมบัติ เป็นคอนกรีตที่ถูกพัฒนามาเพื่องานที่ต้องการกำลังอัด ที่กำหนดในช่วงระยะสั้น โดยส่วนผสมคอนกรีตประเภทนี้จะใช้น้ำยาผสมคอนกรีตประเภทลดน้ำอย่างมาก ตามมาตรฐาน ASTM C 494 คอนกรีตประเภทนี้จะมีระยะเวลาการแข็งตัวที่เร็วกว่าคอนกรีตปกติ ทำให้คอนกรีตสามารถพัฒนากำลังอัดในช่วงต้นได้ดี ขั้นตอนการทำงาน คอนกรีตประเภทนี้ใช้สำหรับงานซ่อมแซมผิวถนน ที่ต้องการกำลังอัดสูงในช่วงต้น งานที่ต้องการเปิดหน้างานเร็ว งานหล่อชิ้นส่วนสำเร็จรูป เป็นต้น โดยทั่วไปคอนกรีตชนิดนี้จะถูกออกแบบมาให้สามารถพัฒนากำลังอัดได้ตามค่าที่ ต้องการภายในระเวลา 8-24 ชั่วโมง … Read More

เหล็กปลอก (STIRRUP)

เหล็กปลอก (Stirrup) คือ เหล็กที่ใช้เสริมอยู่ภายในเสาหรือคานในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก เหล็กที่ใช้ส่วนมากคือคือเหล็กเส้นกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 6 มิลลิเมตร โดยจะดัดเหล็กเส้นเป็นรูปร่างเดียวกับพื้นที่หน้าตัดของเสาหรือคานที่จะใช้ ติดตั้งล้อมรอบเหล็กยืน ตลอดความยาวของโครงสร้างเป็นระยะห่างอย่างสม่ำเสมอ หากเสาคอนกรีตมีแต่แกนเหล็กแต่ไม่มีเหล็กรัดรอบ เมื่อเสารับน้ำหนักจนเกินกำลังที่รับได้ เสาจะเกิดการวิบัติในลักษณะแตกระเบิด ก่อนเกิดการโก่งตัว ดังนั้นเหล็กปลอกจึงช่วยต้านทานการแตกของคอนกรีตภายในได้ เสาจะไม่แตกระเบิด แต่ค่อยๆ โกงตัวจนกระทั่งเกิดการวิบัติในที่สุด เหล็กปลอกเสาที่รัดรอบเหล็กแกนเสา … Read More

ปัญหาเรื่อง ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนไป เกี่ยวกับระบบเสาเข็มรับแรงฝืด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อช่วงประมาณสักหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้รับข้อความเข้ามาทางอินบ็อกซ์จากน้องท่านหนึ่งซึ่งใจความของคำถามนั้นมีดังต่อไปนี้ครับ “ผมจะรบกวนขอคำปรึกษาดังนี้ครับ หากเรามีความต้องการที่จะทำการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มเจาะแบบแห้งหรือ DRY PROCESS BORED PILE ด้วยวิธี DYNAMIC LOAD … Read More

1 2 3 4 5 191