การวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างคาน (BEAM)
สวัสดีตอนบ่ายกันอีกเช่นเคยครับ วันนี้ Mr.เสาเข็ม ก็มาพร้อมกับ สาระความรู้ดีดีเกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม วันนี้จะเป็นเรื่อง การวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างคาน (BEAM) โดยสมมติฐานของการวิเคราะห์คานนั้นเกือบที่จะเหมือนกับโครงสร้างโครงถักนะครับ คือ ถึงแม้ว่าคานจะเป็นโครงสร้างที่ต้องรับแรงดัดเป็นหลัก แต่ ตัวคานจะมีเสถียรภาพอยู่ได้นั้นจะต้องสามารถต้านทานต่อโมเมนต์ดัดที่เกิดขึ้นภายใน (INTERNAL MOMENT) ตัวระบบโครงสร้างของคานเองได้ด้วยนะครับ หากว่าเรามีสมการตัวที่เราไม่ทราบค่า (UNKNOWN VALUES) น้อยกว่า … Read More
ความรู้เรื่องวิศวกรรมความปลอดภัย
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ผมเชื่อเหลือเกินว่า หากเราพูดถึงแขนงหรือสาขาหนึ่งของงานวิศวกรรมที่มีความเกี่ยวข้องกับคุณผู้หญิง ผมคิดว่าสาขาหนึ่งที่พวกเรามักจะนึกถึงกันแทบจะในทันที่เลยก็คือ สาขาวิศวกรรมความปลอดภัย หรือ SAFETY ENGINEERING ซึ่งหากเรามาดูในรายละเอียดแล้วเราอาจจะตกใจว่า สาขาๆ นี้จริงๆ แล้วมีรายละเอียดของการเรียนที่น่าตกใจผิดไปจากชื่อของมันมากเลย ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงหัวข้อๆ … Read More
การคำนวณหาสถานะของความสมดุล (STAGE OF EQUILIBRIUM) ในโครงสร้าง
การคำนวณหาสถานะของความสมดุล (STAGE OF EQUILIBRIUM) ในโครงสร้าง สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมายก ตย ในการคำนวณหาสถานะของความสมดุล (STAGE OF EQUILIBRIUM) ในโครงสร้างตามที่ได้เคยรับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อวานนะครับ เริ่มต้นดูจากในรูปก่อนนะครับ ในรูปเป็นโครงสร้าง SHELL รูปครึ่งวงกลมวางซ้อนกันอยู่ … Read More
การโก่งเดาะเฉพาะแห่ง (LOCAL BUCKLING)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ ผมเชื่อเหลือเกินว่าหากเพื่อนๆ เป็นผู้ออกแบบท่านหนึ่งที่เคยทำการออกแบบโครงสร้างเหล็ก โดยเฉพาะโครงสร้างรับแรงตามแนวแกนแบบอัด (AXIAL COMPRESSION MEMBERS) เพื่อนๆ ย่อมที่จะต้องมีความคุ้นเคยกับการตรวจสอบว่า สถานะของชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กของเรานั้นมี … Read More