บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต (SLUMP TEST)

การทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต (Slump Test) ใช้เพื่อทดสอบหาค่าความข้นเหลวของคอนกรีตในสภาพเหลวโดยใช้วิธีการทดสอบหาค่าการยุบตัว เพื่อตรวจสอบความสามารถเทได้ของคอนกรีต (Workability) ค่ายุบตัวไม่ได้เป็นค่าที่วัดความสามารถเทได้ของคอนกรีตโดยตรง แต่เป็นการวัดความข้นเหลวของคอนกรีต (Consistency) หรือลักษณะการไหลตัวของคอนกรีต (Flow Characteristic) แม้วิธีนี้จะไม่เหมาะสมสำหรับทดสอบคอนกรีตที่เหลว หรือแห้งมากแต่ก็มีประโยชน์อย่างมากและสะดวกสำหรับการควบคุมความสม่ำเสมอของการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ เช่น ในกรณีที่ค่ายุบตัวของคอนกรีตมีค่ามากกว่าปกติที่ออกแบบไว้ แสดงให้เห็นว่าจะต้องมีความผิดปกติเกิดขึ้นในสัดส่วนผสม ขนาดคละหรือความชื้นในมวลรวมซึ่งจะช่วยให้ผู้ผลิตคอนกรีตสามารถตรวจสอบและแก้ไขได้ การทดสอบทำโดยตักคอนกรีตใส่ลงในโคนที่มีลักษณะเป็นกรวยยอดตัดให้ได้ 3 ชั้น … Read More

สมทบทุนสร้างสนามกีฬาต้านยาเสพติด มูลค่ารวมกว่า 350,000 บาท ข่าวเดลินิวส์

สมทบทุนสร้างสนามกีฬาต้านยาเสพติด มูลค่ารวมกว่า 350,000 บาท ข่าวเดลินิวส์ ภูมิสยามฯ สร้างสนามกีฬาต้านยาเสพติด (ข่าวเดลินิวส์ วันศุกร์ที่ 17 สิงหาคม 2561) นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ (ที่ 4 จากซ้าย) กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย … Read More

โครงสร้างของอาคารเกิดการวิบัติ ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งนั้นเกิดจากคุณภาพของรอยเชื่อมไม่ดีหรือไม่ได้คุณภาพ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากโพสต์ของเมื่อวานนี้ที่ผมได้นำความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบลักษณะคุณภาพของรอยเชื่อมว่าแบบใดที่จัดว่า ดี และแบบใดที่จัดได้ว่า ไม่ดี วันนี้ผมจะขออนุญาตนำภาพเหตุการณ์จริงๆ ที่น่าจะเพิ่งเกิดขึ้นไม่นานมานี้ที่โครงสร้างของอาคารแห่งหนึ่งนั้นเกิดการวิบัติขึ้น ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งนั้นเกิดจากการที่คุณภาพของรอยเชื่อมนั้นไม่ดีหรือไม่ได้คุณภาพนั่นเองครับ   จากรูปจะเห็นได้ว่าอาคารนี้เป็นอาคารคล้ายๆ กับอาคารโกดังเก็บสินค้า … Read More

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test)

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับ ได้แก่ ASTM D4945-96 นอกจากนั้น การทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น 1. สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เสาเข็มหลายต้นสามารถทําการทดสอบได้ในวันเดียว 2. ต้องการพื้นที่รอบๆ เสาเข็มไม่มากนักในการเตรียมการทดสอบ 3. ผลการทดสอบให้ข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับเสาเข็มในเรื่องของกําลังรับน้ําหนักและความสมบูรณ์ของเสาเข็ม … Read More

1 26 27 28 29 30 31 32 191