บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

งานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET)

งานวิศวกรรมอื่นๆ (MISCELLANEOUS ENGINEERING TOPICS หรือ MET) ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ให้ได้ทราบถึงเรื่องหลักการทางด้านความปลอดภัยที่เราควรปฏิบัติในเรื่องเกี่ยวกับอัคคีภัยภายในอาคารกันนะครับ โดยที่ผมได้ทำการสรุปหลักการในการที่เราจะสามารถป้องกันอุบติภัยอันเนื่องมาจากอัคคีภัยไว้ทั้งสิ้น 10 ข้อดังรายละเอียดต่อไปนี้นะครับ (1) ในการออกแบบอาคารแต่ละอาคาร ผู้ออกแบบควรที่จะพิจารณาและทำการออกแบบรายละเอียดในหมวดการป้องกันอัคคีภัยให้มีความเหมาะสมกับประเภทของอาคารที่เรากำลังจะทำการก่อสร้างด้วยนะครับ (2) ในกรณีที่อาคารของเราจำเป็นที่จะต้องมีบันไดหนีไฟ ก็ควรที่จะเลือกใช้คุณภาพของบานประตูหนีไฟที่เหมาะสมกับอาคารและการใช้งานด้วยนะครับ (3) ในการติดตั้งเหล็กดัดต่างๆ ภายในอาคารเพื่อป้องกันขโมยเราควรที่จะเลือกใช้ระบบสปริงชนิดมีปุ่มกดสำหรับเปิดและปิดด้วยนะครับ … Read More

จะต่อเติมอาคารขนาดใหญ่ หรือขนาดเล็ก แนะนำ ใช้ SPUN MICROPILE โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ครับ

จะต่อเติมอาคารขนาดใหญ่ หรือขนาดเล็ก แนะนำ ใช้ SPUN MICROPILE โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ครับ เสาเข็มต่อเติมของเรา เป็นที่นิยมเพราะ คุณภาพมาตรฐานการผลิตเสาเข็มจนได้การรับรอง มาตรฐาน มอก. สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ … Read More

งานปรับปรุงโครงสร้าง ภายในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เพื่อฐานรากที่มั่นคง

งานปรับปรุงโครงสร้าง ภายในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เพื่อฐานรากที่มั่นคง เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เหมาะกับงานต่อเติม ปรับปรุงโครงสร้าง ที่ต้องการความมั่นคงแข็งแรงสูง เพราะเป็นเสาเข็มที่มีขนาดเล็ก สามารถขนย้ายเข้าภายในอาคารได้อย่างสะดวก และเสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการระบายดิน ทำให้ขณะตอกแรงสั่นสะเทือนที่จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างเดิมมีน้อย เนื่องจากอาคารส่วนใหญ่ที่ต้องมีการต่อเติมเสริมฐานรากนั้น มักจะมีปัญหาเรื่องการรับน้ำหนักของฐานรากที่ไม่ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม จึงไม่ควรให้มีแรงสั่นสะเทือน ที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อฐานราก หรือโครงสร้างอาคารมาก … Read More

ความสำคัญและความจำเป็นที่จะต้องทำการวิเคราะห์โครงสร้างจุดรองรับให้เป็นแบบฐานรากยืดหยุ่น (ELASTIC FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตเพื่อนๆ มาอธิบายถึงความสำคัญและความจำเป็นที่เราจะต้องทำการวิเคราะห์โครงสร้างจุดรองรับให้เป็นแบบฐานรากยืดหยุ่น (ELASTIC FOUNDATION) ซึ่งน่าที่จะพออธิบายถึงหลักการและเหตุผลให้แก่เพื่อนๆ ได้พอทราบว่าเหตุใดเราจึงจะต้องทำการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยหลักการนี้ได้นะครับ เพื่อนๆ อาจจะมีความสงสัยเกิดขึ้นนะครับว่าเพราะเหตุใด เราจึงจำเป็นที่จะต้องทราบและเข้าใจถึงหลักการออกแบบวิธีการนี้กัน ? และเมื่อใดกันที่เราควรจะนำวิธีการนี้มาประยุกต์ใช้ในการออกแบบ หรือ วิเคราะห์โครงสร้างของเรา ? คำตอบก็ง่ายๆ และตรงไปตรงมานะครับ คือ หากเราจำเป็นที่จะต้องทำการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างชนิดที่มีจุดรองรับนั้นมีความแข็งแกร่งไม่มากนัก … Read More

1 31 32 33 34 35 36 37 191