บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร

ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร หากขึ้นชื่อว่าเป็นวิศวกรที่ดี เรามักที่จะต้องเป็นนักปฎิบัติงานที่ต้องทำงานภายใต้มาตรฐานการทำงานที่ดีและมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะเมื่อต้องนำหลักการหนึ่งหลักการใดจากมาตรฐานเหล่านี้ไปปฎิบัติใช้ในการทำงานจริงๆ ได้เราก็ต้องสามารถที่จะอ้างอิงไปยังมาตรฐานนั้นๆ ได้ด้วยนะครับ ซึ่งผมถือว่าส่วนหนึ่งของคำถามข้อนี้นั้นเป็นความบกพร่องของผมเองนะครับที่ไม่ได้ทำการกล่าวอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลๆ นี้นะครับ ยังไงผมจะขออนุญาตเก็บประเด็นนี้เอาไว้เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปนะครับ เอาเป็นว่าผมขออนุญาตตอบคำถามข้อนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ข้อมูลที่ผมได้ให้คำแนะนำไปกับเพื่อนๆ ไปนั้นมีการอ้างอิงมาจากเอกสารหนังสือ แนวทางการตรวจสอบชั้นดินเพื่องานฐานราก ในหน้าที่ 13 ถึง 14 ซึ่งได้จัดทำโดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย โดยเป็นเอกสารที่ถูกพิมพ์ไปเมื่อปี … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ อย่างที่ผมเรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อวานว่าวันนี้ผมจะมาทำการยก ตย ในการคำนวณหน้าตัดเชิงประกอบเสริมแรงให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้เรียนรู้ไปพร้อมๆ … Read More

ความรู้เกี่ยวกับการทำงานเสาเข็มและฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อประมาณสองสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสสนทนากับท่านอาจารย์ทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างท่านหนึ่งที่ผมมีความเคารพนับถือท่านมากในประเด็นเกี่ยวกับเรื่อง การนำผลของโมเมนต์มาใช้ในการคำนวณหาค่าแรงเฉือนทะลุ ซึ่งผมต้องขอบพระคุณท่านอาจารย์ท่านนี้ที่ท่านได้ให้ความกรุณาสนทนาและแลกเปลี่ยนความรู้กับผมอยู่นานพอสมควร ซึ่งผมแค่คิดว่าหากนำเอามาสรุปให้เพื่อนๆ ได้เรียนรู้และทำความเข้าใจด้วยก็น่าจะเป็นการดี ผมจึงได้ทำการรวบรวมเอาเนื้อหาที่ผมได้พูดคุยกับท่านอาจารย์ท่านนี้เอาไว้ในโพสต์ๆ นี้ ซึ่งท่านอาจารย์ก็ได้ทำการตั้งคำถามกับบรรดาลูกศิษย์ของท่าน โดยผมทำการสรุปคำถามของท่านอาจารย์เอาไว้ดังต่อไปนี้ “โครงสร้างฐานรากที่เป็นแบบ … Read More

ความรู้เรื่องวิศวกรรมความปลอดภัย

ความรู้เรื่องวิศวกรรมความปลอดภัย ในความเป็นจริงแล้ว วิศวกรรมความปลอดภัยนั้น ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องเฉพาะกับงานในสาขาวิศวกรรมโยธาเพียงสาขาเดียวเท่านั้น แต่ศาสตร์ทางด้านนี้ถือเป็นสาขาวิชาการหนึ่งที่มุ่งเน้นทำการศึกษา และทำการจัดการเกี่ยวกับระบบต่างๆ ของการทำงาน โดยที่จะเน้นไปที่การผลิตภายในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งก็อาจจะครอบคลุมตั้งแต่การออกแบบผลิตภัณฑ์ การกำหนดมาตรฐานความปลอดภัยของอุปกรณ์ในการผลิต ในการติดตั้ง รวมไปถึงในขั้นตอนและวิธีการทำงาน อีกทั้งยังเป็นหลักสูตรที่พูดถึงเรื่องของการประเมินความเสี่ยงในเชิงคณิตศาสตร์อีกด้วย ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ สาขาวิศวกรรมความปลอดภัยนั้น จะเน้นรูปแบบของการทำงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัย โดยที่จะให้สอดคล้องกันกับระดับที่มีความเหมาะสมกับลักษณะของงานนั้นๆ ซึ่งแน่นอนว่าย่อมเป็นเรื่องที่ดีอยู่แล้วหากเราจะสามารถทำการควบคุมหรือจำกัดการเกิดของอุบัติเหตุได้ เพราะวิธีการนี้เป็นวิธีการที่เราจะทำการ “ป้องกัน” … Read More

1 43 44 45 46 47 48 49 191