บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ประโยชน์ของการที่เราเลือกใช้งานเหล็กรูปพรรณกำลังสูง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการขยายความและอธิบายแก่เพื่อนๆ ให้ได้ทราบกันถึงประโยชน์ของการที่เราเลือกใช้งานเหล็กรูปพรรณกำลังสูงในหลายๆ แง่หลายๆ มุมกันบ้างนะครับ โดยที่ผมได้ทำการแบ่งประโยชน์และข้อดีของการที่เราเลือกใช้งานเหล็กรูปพรรณกำลังสูง (HIGH STRENGTH STRUCTURAL STEEL) … Read More

แนวจุดศูนย์กลางของแรงเฉือนของหน้าตัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายและลงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องผลกระทบในเรื่องรูปแบบของเสียรูปที่เกิดขึ้นในโครงสร้างแปแบบ หน้าตัดแบบปิด และ หน้าตัดแบบเปิด ที่เกิดจากการวางน้ำหนักบรรทุกให้ “ไม่มี” การเยื้องศูนย์และ “มี” การเยื้องศูนย์ออกไปจากแนวจุดศูนย์กลางของแรงเฉือนของหน้าตัดเพิ่มเติมกันอีกสักหนึ่งโพสต์ โดยที่ผมจะอาศัยรูปประกอบในโพสต์ๆ นี้ซึ่งน่าจะช่วยทำให้เพื่อนๆ ทุกคนๆ … Read More

ค่าพารามิเตอร์ที่สำคัญซึ่งเรานิยมนำมาใช้พิจารณาในงานออกแบบอาคารเพื่อต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหว

BSP ภูมิสยาม ไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์ micropile เสาเข็มต่อเติม ตอกเสาเข็ม ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1340843272628461 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาเล่าให้เพื่อนๆ ได้รับฟังถึงค่าๆ หนึ่งซึ่งเป็นค่าพารามิเตอร์ที่สำคัญซึ่งเรานิยมนำมาใช้พิจารณาในงานออกแบบอาคารเพื่อต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหวนะครับ ค่าๆ นี้ก็คือ ค่าการเคลื่อนตัวสัมพัทธ์ทางด้านข้าง หรือ LATERAL STORY DRIFT … Read More

เสาเข็มที่ใช้นั้นได้ผลการตอกเสาเข็มไม่ตรงกับการคำนวณ

หากในไซต์งานของเรามีประเด็นเกี่ยวกับว่าเสาเข็มที่ใช้นั้นได้ผลการตอกเสาเข็มไม่ตรงกับการคำนวณเราจะมีวิธีการทดสอบเสาเข็มด้วยวิธีการใดบ้าง และ วิธีการทดสอบใดที่จะให้ผลที่น่าเชื่อถือมากกว่ากัน ? วิธีในการทดสอบการรับกำลังของเสาเข็มจะสามารถทำได้จาก 2 วิธีหลักๆ คือ 1. วิธีทดสอบการรับน้ำหนัก แบบสถิตศาสตร์ (STATIC LOAD TEST) 2. วิธีทดสอบการรับน้ำหนัก แบบพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD TEST) … Read More

1 45 46 47 48 49 50 51 191