บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ปัญหาการคำนวณหาค่าการโก่งตัวค่าสูงสุดของคาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้แจ้งไปในสัปดาห์ที่แล้วว่า ในสัปดาห์นี้ผมจะมาทำการพูดถึงการใช้งาน แผนภูมิปฏิสัมพันธ์ หรือ INTERACTION GRAPH ในการคำนวณหาว่า เมื่อโครงสร้างเสาเข็มของเราจะต้องรับแรงกระทำตามแนวแกนหรือ AXIAL LOAD … Read More

การคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้างที่มีหน้าตัดเป็นแบบ CRACKED SECTION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน แอดมินต้องขอโทษเพื่อนๆ ด้วยนะครับ วันนี้เพิ่งเลิกเรียนในวิชา ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS เลยมาพบกันช้าไปสักหน่อย วันนี้ผมจะมาแสดงขั้นตอนในการคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้างที่มีหน้าตัดเป็นแบบ CRACKED SECTION ตามที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ เอาไว้นะครับ โดยผมคิดว่าวิธีการที่ดีที่สุดก็คือสมมติปัญหาขึ้นมาและทำให้เพื่อนๆ ได้ดูจะเป็นการดีที่สุดครับ ปัญหามีอยู่ว่า เราต้องทำการออกแบบหน้าตัดคาน … Read More

ตอกเสาเข็ม ไมโครไพล์ (MICROPILE) แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ รองรับน้ำหนักที่มากขึ้น เสาเข็ม ได้ มาตรฐาน

ตอกเสาเข็ม ไมโครไพล์ (MICROPILE) แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ รองรับน้ำหนักที่มากขึ้น เสาเข็ม ได้มาตรฐาน งานด่วน งานเร่ง ขยายโรงงานต้องตอกเสาเข็มตอนกลางคืน ภูมิสยามพร้อมบริการครับ เสาเข็มที่แข็งแกร่งสูง และตอบโจทย์การก่อสร้างในพื้นที่จำกัด วิศวกรแนะนำให้ใช้สปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. 397-2524 และ การตอกมีมาตรฐาน ISO … Read More

เมื่อทำการเทคอนกรีตในแบบเสร็จ แล้วทำการแกะแบบออกมา จะพบว่าที่บริเวณผิวนั้นไม่เต็มหรือแหว่งไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับปัญหาๆ หนึ่งซึ่งหากว่าพวกเรานั้นเป็นเจ้าของอาคารหรือผู้ใช้งานอาคาร ก็อาจจะไม่เคยมีโอกาสได้พบเจอกับปัญหาๆ นี้กันเลยนะครับนั่นก็เป็นเพราะว่าปัญหานี้จะเกิดเฉพาะตอนที่ทำการก่อสร้างงานวิศวกรรมโครงสร้างเท่านั้น นั่นก็คือ การที่เมื่อทำการเทคอนกรีตลงไปในแบบเสร็จแล้วทำการแกะแบบออกมาก็จะพบว่าที่บริเวณผิวนั้นไม่เต็มหรือแหว่งไป ซึ่งในบางครั้งก็อาจจะทำให้เห็นเหล็กเสริมภายในชิ้นส่วนโครงสร้างเลยก็ได้ ซึ่งแน่นอนที่สุดว่าหากปล่อยเอาไว้ให้อยู่ในสภาพเช่นนี้นานๆ ก็อาจจะทำให้เกิดปัญหาในอนาคตแก่โครงสร้างนั้นๆ ได้นะครับ   จริงๆ แล้วสาเหตุของปัญหาๆ นี้อาจมีอยู่ด้วยกันหลายประการเลยนะครับ … Read More

1 52 53 54 55 56 57 58 191