บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ     หลังจากที่เมื่อวานผมได้มาแชร์ให้เพื่อนๆ ทราบกันไปแล้วว่าดินเองก็มีค่าโมดูลัสยืดหยุ่นเช่นเดียวกันกับวัสดุอื่นๆ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงวิธีในการคำนวณหาค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของดินให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันบ้างนะครับ ก่อนอื่นต้องขออนุญาตเริ่มต้นอธิบายก่อนนะครับว่าถึงแม้ว่าดินที่เรากำลังพูดถึงนี้จะมีค่าโมดูลัสยืดหยุ่นเหมือนกันกับวัสดุอื่นๆ แต่นั่นก็ไม่ได้หมายความว่า … Read More

ค่าพารามิเตอร์ที่สำคัญซึ่งเรานิยมนำมาใช้พิจารณาในงานออกแบบอาคารเพื่อต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหว

BSP ภูมิสยาม ไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์ micropile เสาเข็มต่อเติม ตอกเสาเข็ม ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1340843272628461 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาเล่าให้เพื่อนๆ ได้รับฟังถึงค่าๆ หนึ่งซึ่งเป็นค่าพารามิเตอร์ที่สำคัญซึ่งเรานิยมนำมาใช้พิจารณาในงานออกแบบอาคารเพื่อต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหวนะครับ ค่าๆ นี้ก็คือ ค่าการเคลื่อนตัวสัมพัทธ์ทางด้านข้าง หรือ LATERAL STORY DRIFT … Read More

สำนวนที่ว่า “It’s raining cat’s and dog’s.”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ เนื่องจากช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นฝนตกในทุกๆ วัน เลยทำให้ผมนึกถึงสำนวนๆ หนึ่งในภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการที่ฝนตก ดังนั้นในวันนี้ผมจะขอนอกเรื่องออกไปจากหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม สักหน่อยนึง ซึ่งสำนวนที่ว่าก็คือ “It’s raining … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาทำการตอบคำถามจากเพื่อนสมาชิกของพวกเราท่านหนึ่งที่ได้กรุณาฝากคำถามเข้าในเพจส่วนตัวของผมโดยมีใจความว่า   “พี่ครับ บ้านผมอยู่จังหวัด ……… (จังหวัดหนึ่งทางภาคอีสาน) หากที่บ้านของผมเค้าอยากจะทำการก่อสร้างพื้นตรงบริเวณโรงจอดรถที่มีหลังคาคลุม ไม่ทราบว่าผมจะต้องบอกให้ทางพี่ ผรม ทำการเทพื้นหนาเท่าไหร่ดีและควรจะต้องเสริมด้วยเหล็กขนาดเท่าใดและกำหนดให้มีระยะห่างเท่าใดดีครับ ?” … Read More

1 53 54 55 56 57 58 59 191