บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ตอกเสาเข็ม ขยายโรงงาน สร้างอาคารใหม่ ด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile)

ตอกเสาเข็ม ขยายโรงงาน สร้างอาคารใหม่ ด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) ตอกเสริมฐานราก หรือสร้างอาคารใหม่ ต้องการความมั่นคงแข็งแรง ต้องเสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ ภูมิสยาม เสาเข็มคุณภาพสูง เหมาะสำหรับต่อเติมหรือสร้างใหม่ เสาเข็มสามารถต่อกันได้ลึกถึงชั้นดินดาน โดยการเชื่อม ขณะตอกมีแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างอาคารข้างเคียง ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง … Read More

ค่า PARAMETER ที่สำคัญของ ดินเหนียว (COHESIVE SOIL)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ    วันนี้ผมจะมาให้ความรู้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบ และ รู้จักถึงค่า PARAMETER ที่สำคัญของ ดินเหนียว (COHESIVE SOIL) ซึ่งก็คือค่าความเชื่อมแน่นระหว่างเม็ดดิน (COHESION, C) กันนะครับ อย่างที่ผมเรียนไปในโพสต์ก่อนหน้านี้นะครับว่าดินเหนียวจะประกอบด้วยเม็ดดินที่มีความละเอียด ซึ่งดินชนิดนี้จะมีความเชื่อมแน่น (COHESIVE SOILS) … Read More

หลักในการแก้ปัญหากรณีที่เราต้องทำการวิเคราะห์โครงสร้าง ที่มีลักษณะไม่สามารถทำการวิเคราะห์ด้วยวิธีอย่างง่าย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในขณะนี้ผมก็ได้พาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำการทบทวนความรู้กันถึงเรื่องท้ายๆ ของการวิเคราะห์โครงสร้างกันแล้ว ไม่ทราบว่าที่ผ่านมาเป็นอย่างไรกันบ้างครับ น่าที่จะมีความเข้าใจกันมากขึ้นแล้วใช่หรือไม่ครับ ?   ก่อนหน้านี้ผมพาเพื่อนๆ เรียนรู้ถึงกระบวนการในการวิเคราะห์โครงสร้างเพื่อที่จะหาค่าการเสียรูปต่างๆ ภายในโครงสร้างประเภทต่างๆ ไปเป็นที่เรียบแล้วและไม่นานมานี้เองผมก็ได้พาเพื่อนๆ ไปทบทวนกันเกี่ยวกับเรื่องการวิเคราะห์โครงสร้างที่มีลักษณะไม่สามารถที่จะทำการวิเคราะห์ด้วยวิธีอย่างง่ายตามหลักการของสถิตศาสตร์ไปแล้วด้วย ดังนั้นเนื้อหาในวันนี้ก็อาจจะเป็นกรณีๆ … Read More

ข้อมูลเชิงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่อง ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมเคยได้โพสต์อธิบายในเบื้องต้นถึงหลักในการประเมินในเรื่องของรายละเอียดต่างๆ ของหลุมทดสอบดินให้แก่เพื่อนๆ ไปแล้ว เช่น เรื่องตำแหน่งในการทดสอบดิน เรื่องวิธีในการทดสอบดิน เรื่องความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดิน เป็นต้น เพราะฉะนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตพูดถึงข้อมูลเชิงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินกันบ้างนะครับ   อย่างที่ทราบกันดีนะครับว่าหากเราจะทำการแบ่งประเภทของฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักบรรทุกต่างๆ … Read More

1 54 55 56 57 58 59 60 191