การเตรียมตัวสอบ ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 18 โดยที่มีใจความของปัญหาข้อนี้มีดังนี้ จากโครง … Read More
สร้างใหม่ เพื่อฐานรากของโครงสร้างอาคารใหม่ ที่มั่นคงแข็งแรง เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ภูมิสยาม
สร้างใหม่ เพื่อฐานรากของโครงสร้างอาคารใหม่ ที่มั่นคงแข็งแรง เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ภูมิสยาม ในทุกงานก่อสร้าง ไม่ว่าจะต่อเติม หรือสร้างใหม่ สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ ฐานราก ที่เป็นตัวชี้วัดว่า คุณภาพของงานก่อสร้างจะมั่นคงแข็งแรงไม่ทรุดตัวหรือไม่ ดังนั้นจุดเริ่มต้นที่ดีคือการเลือกใช้ “เสาเข็ม” เป็นส่วนประกอบของโครงสร้างฐานรากที่อยู่ในดินภายใต้สิ่งก่อสร้าง ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักของโครงสร้างทั้งหมด … Read More
การออกแบบโครงสร้างอาคารสูง (HIGH RISE BUILDING) และ อาคารที่มีช่วงเสาค่อนข้างยาว (LONG SPAN BUILDING)
สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้โพสต์แชร์ความรู้และประสบการณ์ในการออกแบบโครงสร้างอาคารสูง (HIGH RISE BUILDING) และ อาคารที่มีช่วงเสาค่อนข้างยาว (LONG SPAN BUILDING) โดยได้แนะนำเพื่อนๆ ว่าในการออกแบบอาคารเหล่านี้ เราควรคำนึงและตรวจสอบค่า BRI หรือค่า BENDING RIGIDITY INDEX … Read More
เหล็กเสริมต้านทานต่อแรงดัด ที่เกิดขึ้นในแผ่นพื้น
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง เหล็กเสริมต้านทานต่อแรงดัดที่เกิดขึ้นในแผ่นพื้น ซึ่งถือได้ว่าเป็นเหล็กเสริมประเภทหนึ่งที่เราจำเป็นต้องทำการพิจารณาให้ต้องทำการเสริมอยู่ในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ ในหัวข้อนี้จะค่อนข้างยาวหน่อยนะครับเพราะต้องทำความเข้าใจเสียก่อนว่าแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็นแผ่นพื้นทางเดียวและแผ่นพื้นสองทางนั้นจะมีวิธีและขั้นตอนในการวิเคราะห์โครงสร้างเพื่อที่จะหาค่าแรงดัดสำหรับการออกแบบที่มีรายละเอียดที่แตกต่างกันแต่พอได้ค่าแรงดัดสำหรับการออกแบบดังกล่าวนี้มาแล้วก็จะพบว่าทั้งวิธีการและขั้นตอนในการคำนวณหาปริมาณของเหล็กเสริมภายในหน้าตัดของแผ่นพื้นนั้นจะมีความเหมือนกันเลยก็ว่าได้และสำหรับการคำนวณและออกแบบหน้าตัดของโครงสร้าง … Read More