บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ภูมิสยาม รับประกันผลงานนานถึง 7 ปี พร้อมจับมือกับกรุงเทพประกันภัย ประกันความเสียหายระหว่างการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micropile

ภูมิสยาม รับประกันผลงานนานถึง 7 ปี พร้อมจับมือกับกรุงเทพประกันภัย ประกันความเสียหายระหว่างการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micropile ประกันผลงานนานถึง 7 ปี จากการให้บริการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยประกันคุ้มครองความเสียหายจากการรับน้ำหนักของเสาเข็มตามที่วิศวกรออกแบบและคำนวณไว้ตามหลักวิศวกรรม ในกรณีที่เกิดความเสียหายขึ้นจากการที่เสาเข็มไม่สามารถรับน้ำหนักตามที่วิศวกรได้คำนวณไว้ บริษัทฯ ยินดีทำการซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นทั้งหมดตามความเสียหายที่แท้จริง ทั้งนี้ไม่เกินมูลค่าตามที่ในระบุในสัญญาว่าจ้าง (เงื่อนไขเป็นไปตามที่บริษัทฯกำหนด) และภูมิสยามฯจับมือกับกรุงเทพประกันภัย … Read More

ประโยชน์ของเหล็กเสริมที่ผิวล่าง ซึ่งถูกวางอยู่ในบริเวณจุดรองรับของพื้นคอนกรีตอัดแรง แบบมีแรงยึดเหนี่ยว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้โพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง จุดประสงค์และประโยชน์ของการเสริมเหล็กที่ผิวด้านล่างของแผ่นพื้นที่บริเวณกึ่งกลางช่วงของพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดดึงเหล็กทีหลัง หรือ PRESTRESSED CONCRETE POST-TENSIONED SLAB ไปแล้ว ซึ่งวันนี้ผมเลยคิดว่าจะนำเอาความรู้ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเจ้าพื้นชนิดนี้เอามาฝากเพื่อนๆ กันอีกสักหนึ่งโพสต์นะครับ   โดยผมจะขอเริ่มต้นจากประโยชน์ของการเสริมเหล็กที่ผิวด้านล่างของแผ่นพื้นที่บริเวณกึ่งกลางช่วงของพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดดึงเหล็กทีหลังก่อน … Read More

การเกิดรอยแตกร้า จากการหดตัวในโครงสร้างคอนกรีต หรือ SHRINKAGE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับปัญหาๆ หนึ่งที่จริงๆ แล้วเป็นความรู้ที่อยู่ในระดับขั้นพื้นฐานมากๆ แต่พวกเราหลายๆ คนมักที่จะมองข้ามไปจนบางครั้งกลายเป็นปัญหาใหญ่โตเลยทีเดียวนั่นก็คือ การเกิดรอยแตกร้าวอันเนื่องมาจากการหดตัวในโครงสร้างคอนกรีต หรือ ที่พวกเรานิยมเรียกๆ กันว่า SHRINKAGE นั่นเองนะครับ   เราจะสามารถพบปัญหานี้ได้โดยทั่วไปในโครงสร้างที่ทำจากคอนกรีตเลยนะครับ โดยเฉพาะโครงสร้างที่เป็นพื้น … Read More

ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร

ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร หากขึ้นชื่อว่าเป็นวิศวกรที่ดี เรามักที่จะต้องเป็นนักปฎิบัติงานที่ต้องทำงานภายใต้มาตรฐานการทำงานที่ดีและมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะเมื่อต้องนำหลักการหนึ่งหลักการใดจากมาตรฐานเหล่านี้ไปปฎิบัติใช้ในการทำงานจริงๆ ได้เราก็ต้องสามารถที่จะอ้างอิงไปยังมาตรฐานนั้นๆ ได้ด้วยนะครับ ซึ่งผมถือว่าส่วนหนึ่งของคำถามข้อนี้นั้นเป็นความบกพร่องของผมเองนะครับที่ไม่ได้ทำการกล่าวอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลๆ นี้นะครับ ยังไงผมจะขออนุญาตเก็บประเด็นนี้เอาไว้เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปนะครับ เอาเป็นว่าผมขออนุญาตตอบคำถามข้อนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ข้อมูลที่ผมได้ให้คำแนะนำไปกับเพื่อนๆ ไปนั้นมีการอ้างอิงมาจากเอกสารหนังสือ แนวทางการตรวจสอบชั้นดินเพื่องานฐานราก ในหน้าที่ 13 ถึง 14 ซึ่งได้จัดทำโดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย โดยเป็นเอกสารที่ถูกพิมพ์ไปเมื่อปี … Read More

1 77 78 79 80 81 82 83 191