บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนของผมท่านหนึ่งที่ได้ทำการส่งข้อความเข้ามาทางอินบ็อกซ์เพื่อที่จะปรึกษาเกี่ยวกับงานวิศวกรรมโครงสร้าง ซึ่งตอนแรกที่ผมได้ยินคำถามก็ไม่ได้รู้สึกว่าเป็นปัญหาอะไรใหญ่โตนัก แต่ คิดไปคิดมาก็ทำให้นึกไปว่า หากเพื่อนๆ ของเราหลายๆ คนไปเจอเข้ากับตัวเองก็อาจที่จะยังไม่ทราบวิธีในการแก้ปัญหาข้อนี้เช่นกัน ผมจึงตัดสินใจที่จะนำปัญหาข้อนี้มาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ ปัญหาข้อนี้ก็คือ ปัญหาเกี่ยวกับ วิธีในการตรวจสอบจำนวนรอบในการทาสีกันสนิมนะครับ   ตามปกติแล้วหากว่าในงานวิศวกรรมโครงสร้างของเรานั้นมีงานจำพวก วิศวกรรมโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ … Read More

เสาเข็มไมโครไพล์ spunmicropile คุณภาพระดับสากล

ตอกเสาเข็มไมโครไพล์เสริม spun miceo pile  เพิ่มเติม พื้นที่ค่อนข้างจำกัด ทำได้ไหมครับ – ได้ครับตามภาพ เสาเข็มที่แข็งแกร่งสูง และตอบโจทย์การก่อสร้างในพื้นที่จำกัด งานเสร็จเร็ว วิศวกรแนะนำให้ใช้สปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. 397-2524 และ การตอกมีมาตรฐาน ISO 9001 … Read More

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)เสาเข็มที่เหมาะสำหรับงานต่อเติมอาคาร บ้านเรือนต่างๆ

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)เสาเข็มที่เหมาะสำหรับงานต่อเติมอาคาร บ้านเรือนต่างๆ ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ทำให้การขยายหรือต่อเติม เป็นไปตามที่ต้องการ สามารถตอกชิดกำแพง หรือผนังบ้านได้ ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหายหรือแตกร้าว ไม่มีผลกระทบต่อเพื่อนบ้าน เพราะขณะตอกมีแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง หน้างานสะอาดไม่มีดินโคลน จึงเป็นที่นิยมมากในงานต่อเติม ต้องการเสาเข็มที่มีคุณภาพ … Read More

หากเปลี่ยนจาก เสาตอม่อแบบเดียว (ISOLATED PIER) ไปเป็น เสาตอม่อกลุ่ม (GROUP OF PIERS)

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ถามผมต่อเนื่องจากเรื่องราวของฐานรากแผ่ที่ผมเคยโพสต์ไว้สักพักแล้วนะครับว่า “หากเราเปลี่ยนจาก เสาตอม่อแบบเดียว (ISOLATED PIER) ไปเป็น เสาตอม่อกลุ่ม (GROUP OF PIERS) จะทำให้พฤติกรรมของฐานรากนี้เปลี่ยนไปหรือไม่ ? การออกแบบนั้นจะยุ่งยากเพิ่มขึ้นมากหรือไม่ และ เราควรพิจารณาทำการออกแบอย่างไรจึงจะเหมาะสม” ก่อนอื่นผมขอชื่นชมน้องท่านนี้ก่อนนะครับว่าคำถามๆ นี้เป็นคำถามที่ดีและน่าสนใจมาก … Read More

1 79 80 81 82 83 84 85 191