เพิ่มเติม พื้นที่ค่อนข้างจำกัด ทำได้ไหมครับ – ได้ครับตามภาพ เสาเข็มที่แข็งแกร่งสูง และตอบโจทย์การก่อสร้างในพื้นที่จำกัด งานเสร็จเร็ว วิศวกรแนะนำให้ใช้สปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. 397-2524 การตอกมีมาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 45001:2018
รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มไมโครไพล์ spunmicropile คุณภาพ มาตรฐาน มอก. เพิ่มเติม พื้นที่ค่อนข้างจำกัด ทำได้ไหมครับ – ได้ครับตามภาพ เสาเข็มที่แข็งแกร่งสูง และตอบโจทย์การก่อสร้างในพื้นที่จำกัด งานเสร็จเร็ว วิศวกรแนะนำให้ใช้สปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. 397-2524 การตอกมีมาตรฐาน ISO 9001:2015 … Read More
ปัญหาที่มักจะเกิดในทุกๆ ครั้งที่เราทำการออกแบบและก่อสร้าง โครงสร้างเหล็กโครงถัก
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาตอบคำถามของเพื่อนๆ ที่ถามผมเกี่ยวกับโพสต์ก่อนหน้านี้ว่า “ในการออกแบบโครงเหล็กแบบนี้เรามักที่จะทำการตั้งสมมุติฐานว่าจุดต่อนั้นเป็นแบบยึดหมุน (PINNED) แต่ ในงานก่อสร้างจริงๆ เรามักจะทำการก่อสร้างโดยการเชื่อมโดยรอบ สิ่งนี้จะทำให้จุดต่อนั้นกลายเป็นแบบยึดแน่น (FIXED) หรือไม่ ?” และ อีกคำถามหนึ่งที่ถามในทำนองเดียวกันว่า “โครงถักในลักษณะนี้เวลาที่ทำการวิเคราะห์โครงสร้างเราจำเป็นที่ต้องทำการ RELEASE MOMENT ด้วยหรือไม่ ?” ก่อนอื่นผมต้องขออนุญาตกล่าวคำชมเชยน้องๆ … Read More
ไมโครไพล์ หรือเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spunmicropile) เสาเข็มคุณภาพ มาตรฐาน เหมาะกับการต่อเติมโรงงาน ที่ต้องการความมั่งคงแข็งแรงสูง
ไมโครไพล์ หรือเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spunmicropile) เสาเข็มคุณภาพ มาตรฐาน เหมาะกับการต่อเติมโรงงาน ที่ต้องการความมั่งคงแข็งแรงสูง เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ เสาเข็มต่อเติมโรงงาน ยกระดับมาตรฐานโรงงาน ด้วยการเลือกตอกเสาเข็มที่ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม สามารถตรวจสอบการรับน้ำหนักได้ และให้เป็นไปตามที่วิศวกรออกแบบ ภูมิสยาม ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ และเสาเข็มไอไมโครไพล์ เราใส่ใจในทุกขั้นตอนการผลิต และติดตั้งเสาเข็ม … Read More
ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร
ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร หากขึ้นชื่อว่าเป็นวิศวกรที่ดี เรามักที่จะต้องเป็นนักปฎิบัติงานที่ต้องทำงานภายใต้มาตรฐานการทำงานที่ดีและมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะเมื่อต้องนำหลักการหนึ่งหลักการใดจากมาตรฐานเหล่านี้ไปปฎิบัติใช้ในการทำงานจริงๆ ได้เราก็ต้องสามารถที่จะอ้างอิงไปยังมาตรฐานนั้นๆ ได้ด้วยนะครับ ซึ่งผมถือว่าส่วนหนึ่งของคำถามข้อนี้นั้นเป็นความบกพร่องของผมเองนะครับที่ไม่ได้ทำการกล่าวอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลๆ นี้นะครับ ยังไงผมจะขออนุญาตเก็บประเด็นนี้เอาไว้เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปนะครับ เอาเป็นว่าผมขออนุญาตตอบคำถามข้อนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ข้อมูลที่ผมได้ให้คำแนะนำไปกับเพื่อนๆ ไปนั้นมีการอ้างอิงมาจากเอกสารหนังสือ แนวทางการตรวจสอบชั้นดินเพื่องานฐานราก ในหน้าที่ 13 ถึง 14 ซึ่งได้จัดทำโดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย โดยเป็นเอกสารที่ถูกพิมพ์ไปเมื่อปี … Read More