บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ต้องการตอกเสาเข็มต่อเติมในพื้นที่ ที่ต้องการความปลอดภัยสูง สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE โดย BSP-Bhumisiam

ต้องการตอกเสาเข็มต่อเติมในพื้นที่ ที่ต้องการความปลอดภัยสูง สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE โดย BSP-Bhumisiam ต้องการตอกเสาเข็มต่อเติมในพื้นที่ ที่ต้องการความปลอดภัยสูง ได้มาตรฐาน การรับน้ำหนักเชื่อถือได้ ทำได้ไหมคะ? ได้ครับแนะนำเสาเข็มสปันไครไพล์ ตอกแล้วไม่กระทบโครงสร้างเดิม โดย BSP-Bhumisiam ตัวอย่าง ผลงานของเรา งานการไฟฟ้า การประปา … Read More

ในงานตอกเสาเข็ม LAST 10 BLOW COUNT ถือเป็นเรื่องสำคัญที่ควรใส่ใจเป็นอันดับแรก

โดยปกติถ้าเป็นดินที่อยู่แถวกรุงเทพฯ ซึ่งจะเป็นดินอ่อน การจะตอกเสาเข็มให้ลึกจนถึงชั้นดินแข็งได้ก็จะต้องตอกให้ลึกประมาณ 21 เมตร หากใช้เสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ก็จะต้องใช้เสาเข็ม 14 ท่อนในการตอก 1 ต้น แต่เนื่องจากว่าหน้าดินของแต่ละที่ไม่เหมือนกันดังนั้นจึงต้องหาวิธีที่เป็นมาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ วิธีที่นิยมใช้ก็คือการนับโบว์เคาท์ Last 10 Blow Count หมายถึงระยะจมของเสาเข็มในการทดสอบด้วยการตอก 10 ครั้ง ซึ่งจะต้องมีค่าไม่เกินกว่าที่คำนวณได้จึงจะผ่านเกณฑ์ … Read More

ตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ในโรงงาน พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิร์น ซีบอร์ด

ผลงานของเรา กับเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โรงงานใน พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิร์น ซีบอร์ด แห่งที่ 3 จังหวัดสระบุรี จะนวน 200 ต้น ตุลาคม 2559        

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ ในวันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้ถึงหลักการในการออกแบบโครงสร้างให้มีความแข็งแรงด้วยวิธีการง่ายๆ แต่ มักจะถูกละเลย หรือ อาจถูกหลงลืมไปจากผู้ออกแบบอยู่บ่อยครั้ง นั่นก็คือ เทคนิคและวิธีในการเชื่อมต่อ สปริงแบบเชิงเส้น (LINEAR SPRING) เข้ากับตัวโครงสร้างนั่นเองนะครับ … Read More

1 86 87 88 89 90 91 92 191