ระหว่าง PLATE ELEMENT กับ SURFACE ELEMENT นั้นมีความเหมือน หรือ แตกต่างกันอย่างไร?

ระหว่าง PLATE ELEMENT กับ SURFACE ELEMENT นั้นมีความเหมือน หรือ แตกต่างกันอย่างไร? SURFACE ELEMENT ก็คือ PLATE ELEMENT อย่างหนึ่งนั่นเองนะครับ ซึ่งประเภทของ PLATE ELEMENT ที่ถูกเลือกนำมาใช้ทำการจำลองเจ้า SURFACE … Read More

การระมัดระวังไม่ให้ชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กที่เป็นโครงถักนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปผิดไปจากสมมติฐาน

การที่เราควรที่จะระมัดระวังมิให้ชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กที่เป็นโครงถักนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปผิดไปจากสมมติฐาน ที่มาของปัญหานี้ คือ เวลาที่ผู้ออกแบบทำการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ (MATHEMATICAL STRUCTURAL MODEL) ขึ้นมาเพื่อทำการวิเคราะห์และออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างโครงถักเหล็ก เรามักที่จะทำการจำลองให้ตำแหน่งของศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของชิ้นส่วนโครงสร้างนั้นตรงกัน (เหมือนในรูปด้านบนนะครับ) แต่ ในสภาพความเป็นจริงเวลาที่ช่างทำการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กมักที่จะทำงานโดยอาศัยความง่ายในการทำงานเอาไว้ก่อน ทำให้แนวศูนย์กลางของชิ้นส่วนนั้นไม่ตรงตามสมมติฐานข้อนี้ อันจะทำให้เกิดระยะเยื้องศูนย์ (ECCENTRICITY หรือ e) ขึ้นซึ่งระยะเยื้องศูนย์นี้จะทำให้เกิดแรงดัดที่ไม่ได้ตั้งใจ (UNINTENTIONAL MOMENT) … Read More

การวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างคาน (BEAM)

สวัสดีตอนบ่ายกันอีกเช่นเคยครับ วันนี้ Mr.เสาเข็ม ก็มาพร้อมกับ สาระความรู้ดีดีเกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม วันนี้จะเป็นเรื่อง การวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างคาน (BEAM) โดยสมมติฐานของการวิเคราะห์คานนั้นเกือบที่จะเหมือนกับโครงสร้างโครงถักนะครับ คือ ถึงแม้ว่าคานจะเป็นโครงสร้างที่ต้องรับแรงดัดเป็นหลัก แต่ ตัวคานจะมีเสถียรภาพอยู่ได้นั้นจะต้องสามารถต้านทานต่อโมเมนต์ดัดที่เกิดขึ้นภายใน (INTERNAL MOMENT) ตัวระบบโครงสร้างของคานเองได้ด้วยนะครับ หากว่าเรามีสมการตัวที่เราไม่ทราบค่า (UNKNOWN VALUES) น้อยกว่า … Read More

การพิจารณาเพื่อทำการคำนวณเพื่อแก้ไขงานโครงสร้างของฐานรากเมื่อเสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์

สวัสดีครับ ช่วงบ่ายๆ แบบนี้ ก็มาอยู่กับ Mr.เสาเข็ม อีกเช่นเคย พร้อมความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรมนะครับ วันนี้จะเป็นเรื่อง การพิจารณาเพื่อทำการคำนวณเพื่อแก้ไขงานโครงสร้างของฐานรากเมื่อเสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ ในสถานการณ์ปกติหากว่ามีการทำการก่อสร้างโครงสร้างฐานรากและจำเป็นที่จะต้องใช้ระบบโครงสร้างเป็นเสาเข็ม ไม่ว่าจะเป็น เสาเข็มตอก หรือ เสาเข็มเจาะ และ หากเสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ไปจากตำแหน่งเดิมที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ เราจำเป็นที่จะต้องมีการคำนวณเพื่อทำการตรวจสอบรายการคำนวณซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วนหลักๆ นะครับ (1) … Read More

การทำการทดสอบตามมาตรฐานอเมริกัน หรือ ASTM (AMERICAN SOCIETY FOR TESTING AND MATERIALS)

สวัสดีครับ Mr.เสาเข็ม ก็ได้นำความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้าง มาแชร์กันอีกแล้วนะครับ ในช่วงบ่ายแบบนี้ วันนี้ จะมาแชร์เรื่อง การทำการทดสอบตามมาตรฐานอเมริกัน หรือ ASTM (AMERICAN SOCIETY FOR TESTING AND MATERIALS) เนื่องจากว่าในการทดสอบวัสดุต่างๆ เพื่อใช้ในงานก่อสร้างนั้นจำเป็นที่จะต้องทำตามมาตรฐานที่มีความเชื่อถือได้ หนึ่งในมาตรฐานที่ว่านั้นก็คือมาตรฐาน ASTM นั่นเองครับ … Read More

หากเราจะตรวจสอบจำนวนเสาเข็มที่ได้รับการออกแบบมาว่ามีความถูกต้องเหมาะสมมากน้อยขนาดไหน เราจะมีวิธีการอย่างไร ?

BSP ภูมิสยาม ไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์ micropile เสาเข็มต่อเติม ตอกเสาเข็ม ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1338624449517010:0 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในวันนี้ผมได้รับข้อความจากเพื่อนรักสมัยเรียนท่านหนึ่งสอบถามผมมาว่า หากเราจะตรวจสอบจำนวนเสาเข็มที่ได้รับการออกแบบมาว่ามีความถูกต้องเหมาะสมมากน้อยขนาดไหน เราจะมีวิธีการอย่างไร ? วันนี้ผมจึงจะมาให้คำแนะนำในการประมาณค่าเพื่อตรวจสอบจำนวนเสาเข็มที่เราจะใช้ในโครงสร้างบ้านหรืออาคารของเรากันนะครับ จริงๆ วิธีในการประมาณค่าจำนวนเสาเข็มที่จะใช้ในอาคารหนึ่งๆ จะสำคัญที่หน่วย นน ใช้งานต่อ … Read More

การวิเคราะห์แรงต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหว หรือ SEISMIC ANALYSIS

BSP ภูมิสยาม ไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์ micropile เสาเข็มต่อเติม ตอกเสาเข็ม ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1340099956036126:0 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องวิศวกรรมแผ่นดินไหวต่อเนื่องจากโพสต์เมื่อวานของผมนะครับ เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าการวิเคราะห์แรงต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหว หรือ SEISMIC ANALYSIS นั้นจะแตกต่างไปจากการวิเคราะห์โครงสร้างเนื่องจาก นน บรรทุกประเภทอื่นๆ … Read More

ค่าพารามิเตอร์ที่สำคัญซึ่งเรานิยมนำมาใช้พิจารณาในงานออกแบบอาคารเพื่อต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหว

BSP ภูมิสยาม ไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์ micropile เสาเข็มต่อเติม ตอกเสาเข็ม ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1340843272628461 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาเล่าให้เพื่อนๆ ได้รับฟังถึงค่าๆ หนึ่งซึ่งเป็นค่าพารามิเตอร์ที่สำคัญซึ่งเรานิยมนำมาใช้พิจารณาในงานออกแบบอาคารเพื่อต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหวนะครับ ค่าๆ นี้ก็คือ ค่าการเคลื่อนตัวสัมพัทธ์ทางด้านข้าง หรือ LATERAL STORY DRIFT … Read More

ความแข็งเกร็ง หรือ STIFFNESS

BSP ภูมิสยาม ไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์ micropile เสาเข็มต่อเติม ตอกเสาเข็ม ref:  https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1342896445756477:0 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมนำความรู้เกี่ยวกับคำว่า ความแข็งเกร็ง หรือ STIFFNESS มาฝากเพื่อนๆ สักเล็กน้อยนะครับ เพื่อนๆ อาจเคยสงสัยใช่มั้ยครับ ทุกๆ … Read More

การขนาดหน้าตัดของคาน คสล สำหรับโครงสร้างที่มีความยาวช่วงที่สูง

BSP ภูมิสยาม ไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์ micropile เสาเข็มต่อเติม ตอกเสาเข็ม ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1343926622320126:0 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้ผมจะมาขอให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ วิศวกรเกี่ยวกับเรื่องการประมาณการขนาดหน้าตัดของคาน คสล สำหรับโครงสร้างที่มีความยาวช่วงที่สูง หรือ ที่เรานิยมเรียกกันว่า LONG SPAN นะครับ ก่อนอื่นผมต้องขอให้เล่าให้ทราบก่อนนะครับ … Read More

1 2 3 4 5 6