ความหนาน้อยที่สุดสำหรับแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง ความหนาน้อยที่สุดสำหรับแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ   โดยที่ผมต้องขออธิบายก่อนนะครับว่าสาเหตุที่ข้อกำหนดในการออกแบบได้กำหนดให้เราต้องทำการคำนวณหาค่าความหนาน้อยที่สุดของทั้งแผ่นพื้นทางเดียวและแผ่นพื้นสองทางนั่นเป็นเพราะว่า การคำนวณหาค่าการเสียรูปของโครงสร้างคอนกรีตนั้นสามารถที่จะทำได้แต่ก็ค่อนข้างยากเอาเรื่องอยู่ … Read More

แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นสองทาง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นสองทาง ให้เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ   แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นสองทาง ก็คือพื้นที่มีระยะของด้านยาว (L) … Read More

ผลของการที่เราไม่นำผลของค่าการเสียรูปอันเนื่องมาจากแรงเฉือน หรือ SHEAR DEFORMATION มาใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ จริงๆ แล้วปัญหาที่ผมจะขอนำมาหยิบยกมาเพื่อใช้เป็นกรณีศึกษาในวันนี้ก็จะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องงานออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างซึ่งหัวข้อก็คือ ผลของการที่เราไม่นำผลของค่าการเสียรูปอันเนื่องมาจากแรงเฉือน หรือ SHEAR DEFORMATION มาใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างนั่นเองครับ   ผมเชื่อว่าเพื่อนๆ วิศวกรโครงสร้างหลายๆ คนคงจะกำลังเจออยู่หรืออย่างน้อยต้องเคยมีโอกาสได้ประสบพบเจอกับปัญหานี้กันมาบ้างไม่มากก็น้อย โดยที่ปัญหาๆ นี้จะเกิดขึ้นเกือบจะในทุกๆ ครั้งที่เราทำการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยกระบวนการทาง … Read More

ข้อมูลเชิงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่อง ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมเคยได้โพสต์อธิบายในเบื้องต้นถึงหลักในการประเมินในเรื่องของรายละเอียดต่างๆ ของหลุมทดสอบดินให้แก่เพื่อนๆ ไปแล้ว เช่น เรื่องตำแหน่งในการทดสอบดิน เรื่องวิธีในการทดสอบดิน เรื่องความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดิน เป็นต้น เพราะฉะนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตพูดถึงข้อมูลเชิงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินกันบ้างนะครับ   อย่างที่ทราบกันดีนะครับว่าหากเราจะทำการแบ่งประเภทของฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักบรรทุกต่างๆ … Read More

เมื่อทำการเทคอนกรีตในแบบเสร็จ แล้วทำการแกะแบบออกมา จะพบว่าที่บริเวณผิวนั้นไม่เต็มหรือแหว่งไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับปัญหาๆ หนึ่งซึ่งหากว่าพวกเรานั้นเป็นเจ้าของอาคารหรือผู้ใช้งานอาคาร ก็อาจจะไม่เคยมีโอกาสได้พบเจอกับปัญหาๆ นี้กันเลยนะครับนั่นก็เป็นเพราะว่าปัญหานี้จะเกิดเฉพาะตอนที่ทำการก่อสร้างงานวิศวกรรมโครงสร้างเท่านั้น นั่นก็คือ การที่เมื่อทำการเทคอนกรีตลงไปในแบบเสร็จแล้วทำการแกะแบบออกมาก็จะพบว่าที่บริเวณผิวนั้นไม่เต็มหรือแหว่งไป ซึ่งในบางครั้งก็อาจจะทำให้เห็นเหล็กเสริมภายในชิ้นส่วนโครงสร้างเลยก็ได้ ซึ่งแน่นอนที่สุดว่าหากปล่อยเอาไว้ให้อยู่ในสภาพเช่นนี้นานๆ ก็อาจจะทำให้เกิดปัญหาในอนาคตแก่โครงสร้างนั้นๆ ได้นะครับ   จริงๆ แล้วสาเหตุของปัญหาๆ นี้อาจมีอยู่ด้วยกันหลายประการเลยนะครับ … Read More

ประเภทและลักษณะการทดสอบหาค่ากำลังของชั้นดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ทำการคั่นเนื้อหาเรื่องการทดสอบชั้นดินเพื่อที่จะพูดถึงประเด็นเรื่องราวอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเพื่อเป็นวิทยาทานแก่เพื่อนๆ กันไปมากพอสมควรแล้ว วันนี้ผมคิดว่าเราน่าจะกลับมาพูดถึงเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องหลักของเรากันต่อจะดีกว่า ดังนั้นในวันนี้ผมจะมาพูดถึงเรื่อง ประเภทและลักษณะการทดสอบหาค่ากำลังของชั้นดิน นะครับ   ประเภทและลักษณะการทดสอบหาค่ากำลังของชั้นดินนั้นสามารถที่จะทำการคัดแยกออกได้เป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ … Read More

โครงสร้างของอาคารเกิดการวิบัติ ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งนั้นเกิดจากคุณภาพของรอยเชื่อมไม่ดีหรือไม่ได้คุณภาพ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากโพสต์ของเมื่อวานนี้ที่ผมได้นำความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบลักษณะคุณภาพของรอยเชื่อมว่าแบบใดที่จัดว่า ดี และแบบใดที่จัดได้ว่า ไม่ดี วันนี้ผมจะขออนุญาตนำภาพเหตุการณ์จริงๆ ที่น่าจะเพิ่งเกิดขึ้นไม่นานมานี้ที่โครงสร้างของอาคารแห่งหนึ่งนั้นเกิดการวิบัติขึ้น ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งนั้นเกิดจากการที่คุณภาพของรอยเชื่อมนั้นไม่ดีหรือไม่ได้คุณภาพนั่นเองครับ   จากรูปจะเห็นได้ว่าอาคารนี้เป็นอาคารคล้ายๆ กับอาคารโกดังเก็บสินค้า … Read More

การเกิดรอยแตกร้า จากการหดตัวในโครงสร้างคอนกรีต หรือ SHRINKAGE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับปัญหาๆ หนึ่งที่จริงๆ แล้วเป็นความรู้ที่อยู่ในระดับขั้นพื้นฐานมากๆ แต่พวกเราหลายๆ คนมักที่จะมองข้ามไปจนบางครั้งกลายเป็นปัญหาใหญ่โตเลยทีเดียวนั่นก็คือ การเกิดรอยแตกร้าวอันเนื่องมาจากการหดตัวในโครงสร้างคอนกรีต หรือ ที่พวกเรานิยมเรียกๆ กันว่า SHRINKAGE นั่นเองนะครับ   เราจะสามารถพบปัญหานี้ได้โดยทั่วไปในโครงสร้างที่ทำจากคอนกรีตเลยนะครับ โดยเฉพาะโครงสร้างที่เป็นพื้น … Read More

การโก่งตัวที่ยอมให้ของโครงสร้างคานที่มีลักษณะเป็นแบบยื่น หรือ CANTILEVER BEAM

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากมีเพื่อนของผมท่านหนึ่งได้ฝากคำถามๆ หนึ่งเอาไว้ในอินบ็อกซ์ซึ่งผมเห็นว่าน่าจะมีประโยชน์หากนำมาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ ด้วยคำถามนั้นก็คือ การโก่งตัวที่ยอมให้ของโครงสร้างคานที่มีลักษณะเป็นแบบยื่น หรือ CANTILEVER BEAM นั้นมีมาตรฐานการคำนวณใดที่กำหนดให้เรานั้นทำการคิดคำนวณ และ มีวิธีการคำนวณเกณฑ์ๆ นี้อย่างไรครับ … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน ด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อไม่นานมานี้ผมทำการอัดคลิปวีดีโอแนะนำถึงเรื่องราวต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ในหลายๆ เรื่องหลายๆ วิชา ผลปรากฏว่าได้รับความสนใจดีเลยทีเดียว ผมเลยมีความคิดว่าหากผมจะทำคลิปเพื่อนำมาใช้ในหัวข้อวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์บ้างก็น่าจะเป็นการดีเหมือนกันนะครับ ประกอบกับการที่เมื่อสัปดาห์ที่แล้วผมได้เล่าให้ฟังไปแล้วว่าผมอยากที่จะนำเอาคำถามท้ายบทในหนังสือ TEXT BOOK ที่มีชื่อว่า DYNAMICS OF STRUCTURES … Read More

1 12 13 14 15 16 17 18 34