การเตรียมตัวสอบ ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ   คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 18 โดยที่มีใจความของปัญหาข้อนี้มีดังนี้   จากโครง … Read More

วิธีในการเลือกใช้งาน เสาเข็มแต่ละประเภท เพื่อให้เหมาะสมกับงานก่อสร้างแต่ละงาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้เนื้อหานั้นจะเกี่ยวข้องกับเรื่องที่มีความน่าสนใจประการหนึ่งนั่นก็คือ ผู้ออกแบบมีวิธีอย่างไรในการเลือกใช้งานเสาเข็มแต่ละประเภทเพื่อให้เหมาะสมกับงานก่อสร้างแต่ละงาน เพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะมีความเชื่อว่า ในการเลือกชนิดหน้าตัดของเสาเข็มนั้นผู้ออกแบบจะทำการเลือกหน้าตัดของเสาเข็มให้เป็นหน้าตัดชนิดใดๆ ชนิดหนึ่งก็ได้ ซึ่งถือว่าความคิดนี้ไม่ถูกต้องนัก เพราะ หากเพื่อนๆ ลองคิดตามหลักการทางด้านวิศวกรรมและหลักทางด้านความเป็นจริงดูก็จะพบว่า … Read More

วิธีในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างของอาคารเพื่อใช้ในการต้านทานแรงที่กระทำจากแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่อง วิธีในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างของอาคารเพื่อใช้ในการต้านทานแรงที่กระทำจากแผ่นดินไหว นั่นเองนะครับ   โดยหากจะพูดกันถึงหัวข้อๆ นี้จะพบว่าเนื้อหานั้นค่อนข้างที่จะมีความยืดยาวมากพอสมควรเลย ผมจึงตัดสินใจที่จะทำการแบ่งออกเป็นตอนๆ โดยที่ในวันนี้จะเป็นตอนที่ 1 ซึ่งจะเป็นการกล่าวถึง หลักวิธีที่เราใช้ในการออกแบบ นะครับ   หากเมื่อใดก็ตามที่เราพูดถึงแรงกระทำที่เกิดจากสภาวะการเกิดขึ้นของแผ่นดินไหว … Read More

วิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ   คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 16 โดยที่มีใจความของปัญหาข้อนี้มีดังนี้   จากโครง … Read More

การทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ใต้พื้นดินลงไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะมาทำการอธิบายถึงหัวข้อๆ หนึ่งที่ถือได้ว่ามีความสำคัญมากๆ ในการออกแบบโครงสร้างจำพวกที่ทำหน้าที่ในการกันดิน นั่นก็คือ แรงดันดินด้านข้าง หรือ LATERAL EARTH PRESSURE นั่นเองนะครับ   ในการวิเคราะห์ การหาค่าสัมประสิทธิ์ และ … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้คือ พวกเราจะมีวิธีการอย่างไร หากมีความจำเป็นที่จะต้องทำการตอกเสาเข็มในบริเวณสถานที่ก่อสร้างโดยที่บริเวณนั้นๆ มีอาคารเดิมตั้งอยู่ก่อนหน้าแล้วนั่นเองนะครับ   โดยที่หากพูดถึงปัญหาๆ นี้เนื้อเรื่องจะค่อนข้างยืดยาวมากๆ ผมจึงจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตทำการแบ่งการโพสต์ออกเป็นสัก 2 ครั้งก็แล้วกันนะครับ   โดยในวันนี้ผมจะขอมาทำการอธิบายถึงในส่วนที่สองกันต่อจากสัปดาห์ที่แล้วนั่นก็คือ ขั้นตอนในเลือกระบบของโครงสร้างเสาเข็ม และ … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้าง ที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   โดยที่หัวข้อในวันนี้คือ พวกเราจะมีวิธีการอย่างไร หากว่าต้องทำหน้าที่เป็นผู้ควบคุมการทำงานซึ่งต้องคอยทำหน้าที่ตรวจสอบความเรียบร้อยก่อนการทำงานเทคอนกรีตสำหรับงานจำพวกโครงสร้าง คสล นั่นเองนะครับ โดยวิธีการที่ผมจะนำมาสรุปให้ฟังนี้ถือได้ว่าเป็นขั้นตอนพื้นฐานสำหรับการตรวจโครงสร้าง คสล ก่อนการเทคอนกรีตพอสังเขป โดยเพื่อนๆ สามารถที่จะใช้การตรวจสอบและการสังเกตได้ด้วยตาเปล่าเลยนะครับ โดยที่ผมทำการสรุปออกมาทั้งหมด 6 ข้อด้วยกัน … Read More

ข้อกำหนด การเสริมกำลังโครงสร้างแผ่นพื้นท้องเรียบ ให้สามารถมีค่าความต้านทานต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ ก่อนที่ในวันพรุ่งนี้และช่วงสุดสัปดาห์เพื่อนๆ จะได้ไปพักผ่อนกันในช่วงวันหยุดปีใหม่ ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่องที่มาที่ไปของข้อกำหนดในการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างที่มีการกล่าวถึงไว้ใน DESIGN CODE อย่าง ACI 352.1R-12 ที่ได้กล่าวถึงเรื่องข้อกำหนดสำหรับการเสริมกำลังแก่โครงสร้างแผ่นพื้นท้องเรียบให้สามารถที่จะมีค่าความต้านทานต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้นสำหรับกรณีที่โครงสร้างนั้นมีความวิกฤติต่อประเภทของ … Read More

แรงเฉือนทะลุ หรือ PUNCHING SHEAR

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตเลือกหัวข้อมาอธิบายถึงเรื่องวิธีในการออกแบบโครงสร้างคอนรีตให้สามารถที่จะต้านทานต่อแรงจำพวกหนึ่ง ซึ่งก็คือ แรงเฉือนทะลุ หรือ PUNCHING SHEAR ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันแต่ก่อนอื่นเลยเรามาทำความรู้จักกับรูปแบบของการวิบัตินี้กันสักเล็กน้อยนะครับ รูปแบบของการที่โครงสร้างเกิดการวิบัติแบบเจาะทะลุ … Read More

วิศวกรรมระบบท่อต่างๆ ภายในอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ ผมเชื่อว่าตามปกติแล้วเวลาที่เพื่อนๆ ต้องตรวจสอบการทำงานในหมวดงานวิศวกรรมระบบท่อต่างๆ ภายในอาคารของทาง ผรม สิ่งหนึ่งที่เรามักจะต้องทำการตรวจสอบอยู่เสมอเลยก็คือ ท่อต่างๆ จะต้องมีระยะความลาดเอียงที่มากเพียงพอ แต่เพื่อนๆ … Read More

1 14 15 16 17 18 19 20 34