วิธีกำลังในการออกแบบโครงสร้าง คสล

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อวานนี้ผมได้โพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง จุดหมุนพลาสติก (PLASTIC HINGED) นะครับ ก็มีเพื่อนของผมท่านหนึ่งได้สอบถามมาด้วยคำถามที่สุดแสนจะคลาสสิคมากๆ คำถามหนึ่งว่า “ หากผมต้องการที่จะทำการออกแบบโครงสร้าง … Read More

การโก่งเดาะเฉพาะแห่ง (LOCAL BUCKLING)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ ผมเชื่อเหลือเกินว่าหากเพื่อนๆ เป็นผู้ออกแบบท่านหนึ่งที่เคยทำการออกแบบโครงสร้างเหล็ก โดยเฉพาะโครงสร้างรับแรงตามแนวแกนแบบอัด (AXIAL COMPRESSION MEMBERS) เพื่อนๆ ย่อมที่จะต้องมีความคุ้นเคยกับการตรวจสอบว่า สถานะของชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กของเรานั้นมี … Read More

ตัวอย่าง วิธีในการวางแนวลวดอัดแรง (TENDON PROFILE) ในหน้าตัดโครงสร้าง คอร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) โดยที่ในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับงาน การออกแบบคอนกรีตอัดแรง (PRESTRESSED CONCRETE DESIGN) นั่นเองนะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณปลายเดือนเมษายนที่ผ่านมามีน้องวิศวกรท่านหนึ่งถามผมมาเกี่ยวกับ วิธีในการวางแนวลวดอัดแรง (TENDON PROFILE) … Read More

การเลือกปรับเปลี่ยนรูปทรงที่ “มุม” ของอาคารที่ต้องทำการออกแบบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ เพื่อนๆ เคยหรือไม่ครับที่ต้องทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING) และ ก็พบว่าแรงลม (WIND LOAD) … Read More

วิธีในการนำ วัสดุคาร์บอนไฟเบอร์ (CARBON FIBER) ไปใช้ในการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้าง (RETROFIT STRUCTURE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง วิศวกรรมวัสดุงานก่อสร้าง (CONSTRUCTION MATERIAL ENGINEERING หรือ CME) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตย รวมไปถึงอธิบายต่อถึงเรื่อง วิธีในการนำ วัสดุคาร์บอนไฟเบอร์ (CARBON FIBER) ไปใช้ในการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้าง (RETROFIT STRUCTURE) กันบ้างนะครับ … Read More

ความแข็งแกร่ง (STIFFNESS) ของโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามที่ผมได้เชิญชวนเพื่อนๆ มาร่วมสนุกกันเมื่อวานซึ่งจะมีความเกี่ยวข้องกับหัวข้อ “ความแข็งแกร่ง” (STIFFNESS) ของโครงสร้างนะครับ ปรากฏว่ามีเพื่อนๆ ที่รักของเราร่วมสนุกกันมาหลายคนเหมือนกันนะครับ และ ส่วนใหญ่ก็ตอบถูกกันเสียด้วย ยังไงผมต้องขอขอบคุณเพื่อนๆ ทุกๆ คนมากๆ ที่ได้ร่วมสนุกกันนะครับ … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างชนิด STATICALLY INDETERMINATE โดยทฤษฎี LEAST WORK

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดและอธิบายต่อพร้อมกับยก ตย ให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อถึงหัวข้อการวิเคราะห์โครงสร้างชนิด STATICALLY INDETERMINATE โดยทฤษฎี LEAST WORK นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะมายก ตย … Read More

ประโยชน์ของการที่เราเลือกใช้งานเหล็กรูปพรรณกำลังสูง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการขยายความและอธิบายแก่เพื่อนๆ ให้ได้ทราบกันถึงประโยชน์ของการที่เราเลือกใช้งานเหล็กรูปพรรณกำลังสูงในหลายๆ แง่หลายๆ มุมกันบ้างนะครับ โดยที่ผมได้ทำการแบ่งประโยชน์และข้อดีของการที่เราเลือกใช้งานเหล็กรูปพรรณกำลังสูง (HIGH STRENGTH STRUCTURAL STEEL) … Read More

ความผิดพลาดในการทำงานเสาเข็มเจาะ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามให้แก่น้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้ฝากคำถามมาหลังไมค์กับผมว่า “มีความผิดพลาดในการทำงานเสาเข็มเจาะดังรูป โดยจะเห็นได้ว่ามีเสาเข็มเจาะต้นเล็ก (เส้นประสีดำ) นั้นวางซ้อนตัวอยู่ภายในเสาเข็มเจาะต้นใหญ่ (เส้นประสีแดง) อยากสอบถามผมว่ากรณีของเสาเข็มดังรูปนี้ถือว่าใช้ได้หรือไม่ครับ?” ก่อนอื่นเลย ผมต้องขอออกตัวเอาไว้ก่อนเลยว่า … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ เนื่องจากว่าเมื่อวานนี้ช่วงเย็นๆ ได้มีประเด็นคำถามด่วนที่ถูกฝากเข้ามาผ่าน CEO หนุ่มสุดหล่อแห่งภูมิสยามว่า “หากว่าเราจะทำการเปรียบเทียบความสามารถในการรับแรงถอน (PULL OUT FORCE) ของตัวเสาเข็ม ระหว่างชนิด … Read More

1 18 19 20 21 22 23 24 34