การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เพื่อนๆ เคยเจอกับเหตุการณ์เช่นนี้หรือไม่ครับ คือ กรณีที่เพื่อนๆ มีความจำเป็นที่จะต้องทำการเจาะ หรือ ทำช่องเปิดบนโครงสร้างคอนกรีต ไม่ว่าโครงสร้างๆ นั้นจะเป็นโครงสร้าง … Read More

ขนาดของอุโมงค์ลม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ หลังจากที่เมื่อวานนี้ผมได้โพสต์ความรู้ให้แก่เพื่อนๆ ถึงเรื่อง “อุโมงค์ลม” ไปแล้ว วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดต่อถึงหัวข้อนี้กันเพิ่มเติมในหัวข้อ “ขนาด” ของอุโมงค์ลมกันอีกสักนิดก็แล้วกันนะครับ สาเหตุที่ผมนำประเด็นๆ นี้มาพูดเพิ่มเติม … Read More

หลักในการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดที่ต้องรับแรงกระทำชนิดแผ่กระจายตัวแบบสม่ำเสมอ (DISTRIBUTED LOAD)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตย พร้อมกับอธิบายหลักในการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดที่ต้องรับแรงกระทำชนิดแผ่กระจายตัวแบบสม่ำเสมอ (DISTRIBUTED LOAD) ในรูปแบบที่มีความแตกต่างกันทั้ง 3 รูปแบบนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันต่อจากโพสต์ของเมื่อ … Read More

วิธีการแก้ปัญหาเมื่อต้องมีการทำช่องเปิดใน แผ่นพื้น หรือ ผนัง คสล หล่อในที่

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ ในวันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำแก่เพื่อนๆ ถึงประเด็นๆ หนึ่งที่ต้องถือว่ามีความสำคัญอย่างมาก และ ยังถือได้อีกว่ากรณีๆ นี้เป็นกรณีที่ผู้ทำการก่อสร้างอาจที่จะพบเจอได้บ่อยมากๆ เมื่อต้องทำงานโครงสร้าง คสล อีกด้วย … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ สืบเนื่องจากในหลายๆ โพสต์ก่อนหน้านี้ผมเคยทำการอธิบายไปในหลายๆ โอกาสมากๆ ถึงวิธีการแก้ปัญหาโดยการทำ TIED BEAM เมื่อเพื่อนๆ ต้องประสบพบเจอกับเหตุการณ์การตอกเสาเข็มแล้วเกิดเยื้องศูนย์ออกไปจากค่ามาตรฐานที่ยอมรับได้ แต่ ผมพบว่ายังมีเพื่อนๆ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากที่ผ่านมานั้นผมมักที่จะได้รับคำถามจากเพื่อนๆ ของผมมาอยู่อย่างตลอดต่อเนื่องว่า “เพราะเหตุใดโครงสร้าง คอร จึงมีความแข็งแรงมากกว่าโครงสร้าง คสล ?” หรือ “อยากให้ผมอธิบายว่ากลไกใดคือกลไกหลักของการที่ทำให้โครงสร้าง … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน (STRUCTURAL BRIDGE ENGINEERING DESIGN หรือ SBE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน (STRUCTURAL BRIDGE ENGINEERING DESIGN หรือ SBE) นะครับ หลังจากที่เมื่อวันก่อนผมได้มานำเสนอบทความให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกันถึง MOVING LOAD ในวันนี้ผมจึงอยากจะขออนุญาตมาทำการยก ตย ในการคำนวณหาค่าต่างๆ เพื่อนำไปคำนวณเพื่อนำค่า MOVING LOAD … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) นะครับ เนื่องจากเมื่อวานผมโพสต์เกี่ยวกับเรื่องประเด็นการคำนวณหาค่าการโก่งตัวทางด้านข้างในอาคารสูงไป ปรากฎว่าได้รับผลการตอบรับค่อนข้างดีเลยนะครับ และ มีคำถามตามมาจากเพื่อนๆ ของผมด้วยว่า มีวิธีการโดยประมาณในการคำนวณหาค่า Δ ในแต่ละชั้นหรือไม่ครับ ? ผมขออนุญาตตอบตรงนี้เลยนะครับว่า มีครับ … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ ในวันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้ถึงหลักการในการออกแบบโครงสร้างให้มีความแข็งแรงด้วยวิธีการง่ายๆ แต่ มักจะถูกละเลย หรือ อาจถูกหลงลืมไปจากผู้ออกแบบอยู่บ่อยครั้ง นั่นก็คือ เทคนิคและวิธีในการเชื่อมต่อ สปริงแบบเชิงเส้น (LINEAR SPRING) เข้ากับตัวโครงสร้างนั่นเองนะครับ … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ที่เป็นวิศวกรที่มีความต้องการที่จะทำการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดในทิศทางเดียว (ONE WAY FLEXURAL ANALYSIS) แบบประมาณการ หรือ ด้วยวิธีการอย่างง่าย นั่นก็คือ การวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI นั่นเองนะครับ ขั้นตอนในการวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI นั้นสามารถทำได้ง่ายๆ นะครับ แต่ … Read More

1 19 20 21 22 23 24 25 34