วิธีและขั้นตอนการวิเคราะห์สถานะของความสมดุลในโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาเล่าให้ฟังถึงวิธีและขั้นตอนการวิเคราะห์สถานะของความสมดุลในโครงสร้างใดๆ เราสามารถที่จะทำได้ไม่ยากมากนักนะครับ ผมจึงนำมาฝากเพื่อนๆ ในวันนี้ครับ การตรวจสอบสถานะของความสมดุลเราสามารถทำได้โดยการ FORMULATE สมการ POTENTIAL ENERGY หรือเรียกง่ายๆ ว่าสมการ V ของระบบออกมาก่อนนะครับ โดยที่เราจะให้ GENERALIZED COORDINATE ของระบบติดอยุ่ในรูปแบบตัวแปรที่เราสนใจ เช่น … Read More

การออกแบบโครงสร้างอาคารสูง (HIGH RISE BUILDING) และ อาคารที่มีช่วงเสาค่อนข้างยาว (LONG SPAN BUILDING)

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้โพสต์แชร์ความรู้และประสบการณ์ในการออกแบบโครงสร้างอาคารสูง (HIGH RISE BUILDING) และ อาคารที่มีช่วงเสาค่อนข้างยาว (LONG SPAN BUILDING) โดยได้แนะนำเพื่อนๆ ว่าในการออกแบบอาคารเหล่านี้ เราควรคำนึงและตรวจสอบค่า BRI หรือค่า BENDING RIGIDITY INDEX … Read More

ปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงน้อยที่สุดในโครงสร้างรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมายก ตย ถึงความรู้พื้นฐานกันอีกสักเรื่องหนึ่ง ซึ่งวันนี้ผมคงจะโพสต์ต่อเนื่องเป็นเรื่องสุดท้ายละกันนะครับ ต่อไปหากมีหัวข้ออื่นๆ ที่น่าสนใจ ผมก็คงจะนำมาทยอยทบทวนให้แก่เพื่อนเรื่อยๆ นะครับ เรื่องในวันนี้ก็คือเรื่องปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงน้อยที่สุดในโครงสร้างรับแรงดัดนั่นเองครับ เพื่อนๆ คงจะทราบดีอยู่แล้วนะครับว่าปริมาณนี้จะมีค่าเท่ากับ As min = 14bd/fy เพื่อนๆ ทราบถึงที่มาที่ไปของสมการนี้กันหรือไม่ครับ ? … Read More

สมการในการหาค่า AXIAL DEFORMATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาขยายความต่อจากโพสต์เมื่อวานนะครับว่าเหตุใดผมถึงบอกกล่าวกับเพื่อนๆ ทุกๆ คนว่าความรู้ในระดับพื้นฐานทุกๆ เรื่องนั้นเป็นเรื่องสำคัญ จากเรื่องเมื่อวานที่ผมโพสต์ไปว่าสมการในการหาค่า AXIAL DEFORMATION ในชิ้นส่วน BAR หรือ ROD จะมีค่าเท่ากับ PL/AE เพื่อนๆ อาจมีความสงสัยว่าเราจะนำสมการพื้นฐานเหล่านี้ไปใช้ และ ต่อยอดในระดับสูง กรณีใดได้บ้าง … Read More

วัสดุคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้ผมอยากที่จะขอมาให้ความรู้พื้ฐานสั้นๆ เกี่ยวกับวัสดุคอนกรีตนะครับ หากเพื่อนๆ อ่าน TEXT BOOK หรือเอกสารตำราของต่างประเทศหลายๆ ครั้งเราอาจพบได้ว่าเมื่อทำดารอ้างถึงค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีตที่อายุ 28 วัน มักจะใช้ CODE ระบุว่า C …X… / …Y… เพื่อนๆ … Read More

ประเภทของแรงเค้นกันต่อ

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกท่าน มาต่อจากเนื้อหาเมื่อวันก่อนที่ผมได้อธิบายไปถึงประเภทของแรงเค้นกันต่อนะครับ โดยหากจำแนกประเภทของแรงกระทำหลักๆ ที่กระทำต่อหน้าตัดของโครงสร้างจะพบว่าประกอบด้วย (1) NORMAL FORCE (N) (2) SHEAR FORCE (V) (3) BENDING FORCE (M) (4) TORSIONAL FORCE (T) … Read More

ความรู้พื้นฐานในวิชา ENGINEERING MECHANICS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ต่อไปนี้วิชา ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS ที่ผมมีโอกาสได้เรียนในระดับ ป เอก เริ่มที่จะทวีความน่าสนใจมากขึ้นทุกทีแล้วครับ ดังนั้นต่อไปผมคงจะมีโอกาสได้นำเนื้อหาที่น่าสนใจในรายวิชานี้มาฝากเพื่อที่เพื่อนๆ จะได้เรียนรู้ไปกับผมด้วยนะครับ แต่ก่อนที่จะไปเรียนรู้ถึงเนื้อหาในระดับสูงข้างต้นวันนี้ผมคิดว่าจะขอมาทบทวนความรู้พื้นฐานในวิชา ENGINEERING MECHANICS ให้แก่เพื่อนๆ ก่อนนะครับ เมื่อโครงสร้างใดๆ … Read More

การเสียรูปของโครงสร้างแบบไม่ปกติ หรือ การที่โครงสร้างมีค่าการเสียรูปมาก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน แอดมินเชื่อว่าเพื่อนๆ คงจะรู้จักและคุ้นเคยกับคำว่า การเสียรูปของโครงสร้างแบบปกติ หรือ การที่โครงสร้างมีค่าการเสียรูปน้อยกันอยู่แล้วนะครับ ดังนั้นในวันนี้ผมจะขอมาให้ความรู้เกี่ยวกับคำว่า การเสียรูปของโครงสร้างแบบไม่ปกติ หรือ การที่โครงสร้างมีค่าการเสียรูปมากกันบ้างนะครับ (ดูรูปประกอบนะครับ) โดยปกติแล้วเมื่อเราทำการวิเคราะห์โครงสร้างกันโดยทั่วๆ ไปแล้วเราทำการวิเคราะห์หาค่าการเสียรูปของโครงสร้าง เราจะพบว่า ณ ค่าตำแหน่งของการเกิดการเสียรูปตามระนาบในแนวนอน (Xo) จะมีค่าใกล้เคียงกันกับระนาบตามแนวโค้ง (S) เมื่อคานเกิดการเสียรูปเนื่องจากการดัด … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยโปรแกรมทาง FEM

สวัสดีแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เมื่อวานนี้แอดมินได้เกริ่นให้เพื่อนๆ ฟังไปแล้วว่าเมื่อวิศวกรต้องการที่จะวิเคราะห์โครงสร้างด้วยโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT วิศวกรผู้ใช้งานจำเป็นจะต้อง INPUT ข้อมูลอะไรลงไปในโปรแกรมบ้าง วันนี้ผมจึงอยากที่จะมาเล่าให้ฟังต่อว่าเมื่อวิเคราะห์โครงสร้างดังกล่าวเสร็จแล้ว ผลที่วิศวกรสามารถคาดหมายว่าจะเป็น OUTPUT หรือ RESULT ที่จะได้จากการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยโปรแกรมทาง FEM นั้นจะประกอบไปด้วยอะไรบ้างนะครับ โดยเราสามารถที่จะจำแนกประเภทของผลการวิเคราะห์โครงสร้างออกได้เป็น 3 รูปแบบหลักๆ … Read More

KERN POINT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินจะมาให้ความรู้เกี่ยวกับคำว่า “KERN POINT” แก่เพื่อนๆ นะครับ ในวงการวิศวกรรมโยธาเราอาจเคยได้ยินคำว่า KERN POINT จากหลายๆ แหล่ง เช่น งานวิศวกรรมฐานราก งานวิศวกรรมโครงสร้าง เป็นต้น วันนี้เราจะได้มาทำความคุ้นเคยกับคำๆ นี้กันให้มากยิ่งขึ้นนะครับ ผมขอสมมติหน้าตัดขึ้นมาหนึ่งหน้าตัดนะครับ หน้าตัดนี้มี … Read More

1 24 25 26 27 28 29 30 34