โครงสร้างคอนกรีตหน้าตัดผสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาเล่าต่อให้จบถึงหัวข้อที่ผมได้ค้างเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวันก่อนนะครับ นั่นก็คือเรื่องประเภทหลักๆ ของโครงสร้างคอนกรีตที่มีการใช้งานกันในวงการวิศวกรรมโยธาของบ้านเรา โดยที่เราสามารถแบ่งประเภทของโครงสร้างคอนกรีตออกได้เป็นทั้งหมด 4 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ (1) โครงสร้างคอนกรีตล้วน (2) โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก (3) โครงสร้างคอนกรีตอัดแรง (4) โครงสร้างคอนกรีตหน้าตัดผสม (รูป A) (รูป … Read More

การออกแบบโครงสร้างเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากหลายๆ วันที่ผ่านมาเราวนเวียนกันอยู่ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้าง คสล กันไปหลายเรื่องแล้ว วันนี้แอดมินจะนำเกร็ดความรู้เกี่ยวกับเรื่องการออกแบบโครงสร้างเหล็กมาฝากเพื่อนๆ บ้างนะครับ เพื่อนๆ ที่เป็นวิศวกรหลายๆ ท่านคงจะทราบกันดีว่าในการออกแบบหน้าตัดเหล็กนั้น เราจะจำแนกหน้าตัดออกเป็น  (1) หน้าตัดรับแรงดึง  (2) หน้าตัดรับแรงอัด (3) หน้าตัดรับแรงดัด คำถามก็คือ หากหน้าตัดเกิดผสมผสานกันระหว่าง รับแรงดึงและแรงดัด กับ … Read More

เมื่อเหล็กเสริมแน่นจนเกินไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้แอดมินจะขอมาตอบคำถามเพื่อนวิศวกรออกแบบที่ถามผ่านทางอินบ็อกซ์ในเฟซบุ้คส่วนตัวของแอดมินว่า “ในกรณีที่เราทำการออกแบบคาน คสล เมื่อเหล็กเสริมแน่นจนเกินไปและจะตัดสินใจทำการการรวบเหล็ก (BUNDLED BARS) ในการออกแบบเหล็กเสริมชนิดนี้ เราควรตรวจสอบข้อกำหนดใดบ้าง ?” แอดมินขออนุญาตตอบโดยอิงไปที่เอกสารการสอนโครงสร้าง คสล ที่เขียนโดยท่าน อ ดร มงคล จิรวัชรเดช นะครับ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะให้เพื่อนๆ … Read More

การออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากมีน้องวิศวกรท่านหนึ่งหลังไมค์ถามแอดมินเกี่ยวกับเรื่อง การออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION) ว่ามีหลักและวิธีในการออกแบบในะระดับที่ ADVANCE ขึ้นไปจากขั้นตอนปกติทั่วๆ ไปอย่างไรบ้าง แอดมินเห็นว่ามีประโยชน์เลยจะมาขออธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับฟังกันในเพจนี้ด้วยนะครับ ก่อนอื่นต้องขอเล่าให้ฟังก่อนนะครับว่าระบบฐานรากในโครงสร้างนั้นมีอยุ่ด้วยกันหลากหลายรูปแบบมาก โดยแต่ละรูปแบบนั้นจะมีทั้งข้อดี และ ข้อด้อย ของตัวเองขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ที่ใช้    อย่างไรก็ตามระบบฐานรากที่พบโดยทั่วไปจะจำแนกออกได้เป็น (A) … Read More

ประเภทของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากมีคำถามที่ถามมายังแอดมินเข้ามาเยอะมากเกี่ยวกับเรื่องชนิด และ ประเภทของเสาเข็มนะครับ ทำให้แอดมินมีความเห็นว่าเพื่อเป็นการทำความเข้าใจที่ถูกต้องและตรงกันของเพื่อนๆ จึงอยากที่จะขออธิบายโดยแยกประเภทของเสาเข็มดังต่อไปนี้นะครับ (1) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของการรับกำลัง (2) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของวัสดุที่ใช้ทำ (3) ประเภทของเสาเข็มตามประเภทของรูปแบบการก่อสร้าง (รูปที่ 1) โดยในวันนี้จะขอมาทำการอธิบายในหัวข้อที่ (2) การแบ่งประเภทของเสาเข็มตามประเภทของวัสดุที่ใช้ทำนะครับ (A) เสาเข็มไม้ … Read More

การกำหนดขนาดและทิศทางของด้านกว้างและด้านแคบของ COLUMN

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน   เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าการกำหนดขนาดและทิศทางของด้านกว้างและด้านแคบของ COLUMN นั้นจะมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการรับกำลังของ BEAM และ SUPPORT ในโครงต้านทานโมเมนต์ดัด (MOMENT FRAME) โดยที่การแปรเปลี่ยนของขนาดของเสานี้จส่งผลต่อแรงภายในที่แตกต่างกันมากก็ต่อเมื่อเราทำการกำหนดให้ BOUNDARY CONDITIONS ของ SUPPORT นั้นมีความแข็งแรงมากๆ (RIGID) … Read More

ข้อดี ข้อเสีย และ ประสิทธิภาพในการใช้งานระหว่างผนังก่อด้วย อิฐมอญ เปรียบเทียบกันกับ อิฐมวลเบา และ อิฐประเภทอื่นๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ  วันนี้แอดมินจะนำเรื่องข้อดี ข้อเสีย และ ประสิทธิภาพในการใช้งานระหว่างผนังก่อด้วย อิฐมอญ เปรียบเทียบกันกับ อิฐมวลเบา และ อิฐประเภทอื่นๆ มาฝากเพื่อนทุกๆ ท่านนะครับ เรามาเริ่มดูรายละเอียดของผนังก่อกันเลยนะครับ     ผนังก่ออิฐฉาบปูน เป็นผนังชนิดที่มีความแข็งแรง เนื่องจากน้ำหนักของตัวเองมีค่ามาก จึงต้องการโครงสร้างมารองรับ … Read More

การก่อสร้างอาคารนั้นทำงานฐานรากของอาคารโดยอาศัยเป็นระบบเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   วันนี้ผมจะมาตอบคำถามน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้สอบถามผมมาเกี่ยวกับเรื่องกรณีที่ในการก่อสร้างอาคารนั้นทำงานฐานรากของอาคารโดยอาศัยเป็นระบบเสาเข็ม และ มีปัญหาว่าหากเสาเข็มที่ใช้นั้นมีความยาวมากๆ และ ที่หน้างานมีปัญหาเรื่องถนนที่เข้ามายังโครงการก่อสร้างนั้นมีขนาดไม่กว้างใหญ่มากนักนะครับ วันนี้เราจะมาดูคำตอบกันนะครับ      กรณีที่ระบบการก่อสร้างนั้นเป็นเสาเข็มที่ค่อนข้างมีความยาวมากๆ และ ยังมีปัญหาเรื่องถนนที่เข้ามายังโครงการก่อสร้างนั้นมีขนาดไม่กว้างใหญ่มากนักเราอาจเลือกประเภทของเสาเข็มออกได้เป็น 2 ระบบด้วยกัน คือ (1) ระบบเสาเข็มหล่อในที่ เช่น เสาเข็มเจาะ เป็นต้น  … Read More

การพิจารณาแรงสำหรับทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (HIGH-RISE หรือว่า TALL BUILDINGS)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   วันนี้เนื้อหาที่ผมตั้งใจที่จะนำมาแชร์กับเพื่อนๆ คือ การพิจารณาแรงสำหรับทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (HIGH-RISE หรือว่า TALL BUILDINGS) นะครับ ในการที่เราจะทำการออกแบบอาคารสูงได้นั้น พื้นฐานหนึ่งที่เราต้องถือว่ามีความสำคัญมากประการหนึ่งที่ผู้ออกแบบจำเป็นที่จะต้องมีความรู้และความเข้าใจ คือ การวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้าง (LATERAL LOAD) ที่กระทำกับตัวโครงสร้างอาคารนะครับ โดยที่จริงๆ แล้วแรงกระทำทางด้านข้างที่กระทำกับอาคารทั้งหมดนั้นล้วนแล้วแต่เกิดจากแรงพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD) … Read More

งานกำแพงกันดินชนิดที่มีการรับแรงกระทำโดยเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  วันนี้ผมจะมาอธิบายแก่เพื่อนๆ รวมถึงรุ่นน้องท่านหนึ่งที่กำลังจะทำงานวิจัยในระดับ ป ตรี ส่งทางภาควิชาเพื่อที่จะจบและสำเร็จการศึกษา เพราะ น้องเค้าตั้งใจอยากที่จะทำทางด้าน งานกำแพงกันดินชนิดที่มีการรับแรงกระทำโดยเสาเข็ม   จากที่ผมได้คุยกันกับน้องท่านนี้ไปเมื่อหลายวันก่อนที่น้องปรึกษาพี่เรื่องการออกแบบระบบกำแพงกันดินโดยใช้วิธีการตอกเสาเข็ม และ ทำการสอดแผ่นสำเร็จรูปเพื่อที่จะทำหน้าที่ถ่ายแรงกระทำทางด้านข้างจากมวลดิน รวมไปถึง นน SURCHARGE ต่างๆ ให้เข้าไปที่ตัวของโครงสร้างเสาเข็ม   ซึ่งผมได้อธิบายกับน้องท่านนี้ไปว่าสำหรับกรณีการรับ นน … Read More

1 25 26 27 28 29 30 31 34