การออกแบบโครงสร้าง โดยอาศัยวิธีหน่วยแรงที่ยอมให้หรือ ALLOWABLE STRESS DESIGN METHOD

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ก่อนที่ทุกอย่างจะพร้อมสำหรับการไลฟ์สดในทุกๆ วันจันทร์ผมเลยตั้งใจจะพูดถึงและแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ในหัวข้อ “ประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเม้นต์ในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้าง” ไปพลางๆ ก่อนนะครับ ซึ่งหัวข้อในวันนี้ก็คือ ตอนที่เราทำการออกแบบโครงสร้าง หากเราอาศัยวิธีหน่วยแรงที่ยอมให้หรือ ALLOWABLE STRESS DESIGN METHOD นอกจากเราจะต้องทำการควบคุมมิให้ค่าแรงเค้นใช้งานหรือ WORKING STRESS นั้นไม่ให้เกินค่าแรงเค้นที่ยอมให้หรือ ALLOWABLE … Read More

วิศวกรรมการคำนวณ – การออกแบบการสั่น อันเนื่องมาจากเครื่องจักร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อสัปดาห์ก่อนว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเอามามาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและหากจะว่ากันด้วยเรื่องรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่องๆ นี้แล้วเนื้อหาทั้งหมดของมันนั้นมีอยู่ด้วยกันค่อนข้างที่จะเยอะมากเลยทีเดียว ดังนั้นเพื่อให้การโพสต์ตลอดก่อนที่จะถึงช่วงปีใหม่นั้นมีความกระชับและได้ประโยชน์สูงสุดผมจึงจะขออนุญาตเลือกหัวข้อที่มีความสำคัญมาก 2 ประเด็นมาพูดถึงนั่นก็คือ 1. รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร 2. รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้พูดถึงหัวข้อที่ 1 เรื่องรูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร และในสัปดาห์นี้ซึ่งก็คือวันศุกร์ที่ 25 ก็จะถือได้ว่าเป็นวันศุกร์สุดท้ายของปี … Read More

การแก้ไขฐานราก เมื่อจุดรองรับนั้น เป็นจุดรองรับแบบยึดแน่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ที่หน้างานได้มีการตอกเสาเข็มซึ่งจะถูกใช้ในโครงสร้างฐานราก F3 ผลจากการตอกเสาเข็มต้นแรกพบว่าไม่เป็นไปตาม BLOW COUNT ที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ … Read More

ผลจากการกำหนดให้ใช้ความยาว ของโครงสร้างเสาเข็มที่ไม่เท่ากัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ก่อนนั้นผมได้นำเอากรณีตัวอย่างของการทำงานการก่อสร้างเสาเข็มที่มีคุณภาพแบบแย่ๆ ว่าเป็นอย่างไร ซึ่งก็พบว่าได้รับความสนใจจากเพื่อนๆ แฟนเพจไม่น้อยเลยทีเดียวและใต้โพสต์ในวันเดียวกันนั้นก็มีรุ่นน้องวิศวกรของผมเองได้คอมเม้นต์สอบถามมาโดยที่มีใจความของคำถามว่า “สำหรับกรณีของการใช้โครงสร้างเสาเข็มเล็กในฐานรากที่ใช้โครงสร้างเสาเข็มใหญ่จะมีวิธีการแก้ไขอย่างไรดีครับ เช่น กรณีที่โครงสร้างเสาเข็มนั้นมีจำนวนทั้งสิ้น 7 ต้น จะต้องทำการคำนวณหาน้ำหนักบรรทุกที่จะถ่ายลงมาที่โครงสร้างเสาเข็มต่อต้นใหม่ทั้งหมดใช่หรือไม่ครับ … Read More

ประสบการณ์เกี่ยวกับ การก่อสร้างเสาเข็มที่มีคุณภาพไม่ดี

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อประมาณสองถึงสามสัปดาห์ก่อนหน้านี้ได้มีแฟนเพจท่านหนึ่งได้ทำการสอบถามเข้ามาในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมโดยมีใจความของข้อความว่า “ทราบมาว่าตัวผมนั้นทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบและผู้ควบคุมการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเป็นหลัก เลยอยากจะถามว่าจากประสบการณ์ส่วนตัวของผมนั้นเคยเจอกรณีใดที่มีการทำงานการก่อสร้างเสาเข็มที่มีคุณภาพแบบแย่ๆ เป็นอย่างไรบ้าง ถ้าหากว่าเป็นไปได้ก็อยากให้ผมนั้นยกตัวอย่างเป็นรูปหรือกรณีประกอบคำอธิบายด้วยก็น่าจะดีครับ” จริงๆ ผมก็คิดอยู่นานนะว่าจะเอาอย่างไรดีเพราะมีหลายๆ โครงการเลยที่เป็นกรณีแบบนี้ ซึ่งผมคิดไปคิดมาแล้วผมจึงตัดสินใจขอยกเอากรณีศึกษาจากโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่งก็แล้วกัน ซึ่งผมก็จะขอออกตัวเอาไว้ก่อนล่วงหน้าเลยว่า … Read More

ประเภทของจุดต่อโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ในรูปๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่าจะเป็นรูปของโครงสร้างสะพานเชื่อมซึ่งมีการทำขึ้นมาจากโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ คำถามในวันนี้ก็ยังคงสั้นๆ และง่ายๆ เหมือนเดิมนั่นก็คือ ที่จุดต่อที่ผมได้ทำการวงเอาไว้ด้วยวงกลมสีเหลืองของเจ้าโครงสร้างสะพานเชื่อมนี้จะเป็นจุดต่อแบบใดระหว่าง … Read More

ประเภทของจุดต่อโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ในรูปๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่าจะเป็นรูปของโครงสร้างเหล็กรูปพรรณสำเร็จรูปแบบ PORTAL FRAME ที่มีการใช้งานอยู่ในห้างสรรพสินค้าทั่วๆ ไป … Read More

ประเภทของจุดต่อภายในโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ก่อนหน้านี้สักพักใหญ่แล้วตัวผมเองเคยได้รับข้อความผ่านมาทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวจากแฟนเพจที่เป็นน้องผู้หญิงท่านหนึ่ง ซึ่งน้องคนนี้น่าจะกำลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีในสาขาวิศวกรรมโยธามาเกี่ยวกับเรื่องประเภทของจุดต่อที่มีการออกแบบและก่อสร้างในงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ ซึ่งตอนนั้นผมเองก็ได้ให้คำตอบและข้อมูลไปพอสังเขปบ้างแล้ว ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตพาเพื่อนๆ โดยเฉพาะคุณผู้หญิงที่เป็นแฟนเพจทั้งหลายไปทำความรู้จักกันกับ ประเภทของจุดต่อโครงสร้างเหล็กรูปพรรณซึ่งพวกเราอาจจะพบเจอได้ทั่วๆ ไปในงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็กรูปพรรณนั่นเองครับ โดยหากจะให้ทำการจัดกลุ่มประเภทของจุดต่อโครงสร้างเหล็กรูปพรรณออกเป็นประเภทหลักๆ ก็น่าจะสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทหลักๆ ด้วยกันได้แก่ … Read More

สบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง โครงสร้างประเภทรับแรงดึงเท่านั้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสองถึงสามช่วงสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเสถียรภาพของโครงสร้างของหลังคาที่ทำหน้าที่ในการป้องกันลมฝนซึ่งจะอยู่ในบริเวณส่วนด้านหลังของอาคารให้แก่เพื่อนๆ ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งในการโพสต์ดังกล่าวนั้นผมจะเน้นหนักไปที่โครงสร้างซึ่งมีความต้องการเสถียรภาพจากเรื่องแรงดัดเป็นหลัก ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาหยิบยกนำเอากรณีของการออกแบบโครงสร้างซึ่งจะมีความต้องการเสถียรภาพจากเรื่องแรงดึงเป็นหลักบ้าง ซึ่งจะได้แก่โครงสร้างประเภทใดกัน วันนี้เราจะมาติดตามรับชมไปพร้อมๆ กันเลยก็แล้วกันนะครับ โครงสร้างที่ว่านี้ก็จะได้แก่โครงสร้างที่อาศัยชิ้นส่วนประเภทที่รับเฉพาะแค่เพียงแรงดึงเท่านั้นหรือ TENSION ONLY STRUCTURES ซึ่งก็อาจจะได้แก่ … Read More

ประเภทของแผ่นยางรองคอสะพาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ เมื่อเพื่อนๆ ได้เห็นรูปในโพสต์ๆ นี้แล้วก็น่าจะพอเดาได้ว่ารูปๆ นี้เป็นรูปของแผ่นยางรองคอสะพาน หรือ BEARING ชนิดหนึ่ง … Read More

1 4 5 6 7 8 9 10 34