แผ่นยางรองคอสะพาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามของน้องผู้หญิงท่านหนึ่งซึ่งน้องท่านนี้กำลังเรียนอยู่ในระดับปริญญาตรีของสาขาวิศวกรรมโยธาในมหาวิทยาลัยมีชื่อแห่งหนึ่ง โดยที่น้องได้ฝากคำถามเข้ามาทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมโดยมีใจความของคำถามดังต่อไปนี้ครับ “ทำไมตรงบริเวณรอยต่อระหว่างเสาตอม่อกับคาน คอร เหมือนในรูปๆ นี้จึงมักที่จะมีการทำเป็นช่องว่างเอาไว้คะ เหมือนเอาอะไรมาหนุนเอาไว้ ไม่ทราบว่าจุดประสงค์นั้นเพื่อทำให้จุดรองรับนี้เป็นแบบ ROLLER หรือเปล่าคะ ? และเหตุใดเค้าจึงต้องยกขึ้นนิดนึงด้วยคะ … Read More

เสถียรภาพของโครงสร้างของหลังคา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้แจ้งกับเพื่อนๆ เอาไว้ในโพสต์ของเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาว่า ในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาตัวอย่างของกรณีของการก่อสร้างต่อเติมโครงสร้างที่เรานั้นทราบว่า โครงสร้างเดิมของอาคารนั้นมีรายละเอียดเป็นเช่นใดและมีระดับของความแข็งแรงมากหรือน้อยเพียงใด ทั้งนี้ก็เพื่อเราจะได้สามารถสามารถนำเอาโครงสร้างใหม่ของเรานั้นไปฝากไว้กับโครงสร้างเดิมได้เอามาฝากแก่เพื่อนๆทุกๆ คนนะครับ หากเพื่อนๆ ดูจากในรูปตัวอย่างในวันนี้ก็จะเห็นได้ว่าส่วนของหลังคานั้นจะถูกก่อสร้างขึ้นโดยการติดตั้งอยู่โดยที่จะยื่นตัวออกมาจากอาคารเดิม ซึ่งนั่นก็เท่ากับว่าน้ำหนักของโครงสร้างหลังคายื่นส่วนใหม่นั้นก็จะต้องถูกนำเอาไปฝากเอาไว้กับโครงสร้างส่วนเดิมโดยตรงนั่นเอง ซึ่งสาเหตุที่ผมได้แจ้งไปว่าในการทำงานวิศวกรรมโครงสร้างตามแบบๆ นี้เราควรที่จะต้องทราบว่า โครงสร้างเดิมของอาคารของเรานั้นจะมีรายละเอียดเป็นแบบใด … Read More

เสถียรภาพของโครงสร้างของหลังคา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสองถึงสามช่วงสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเสถียรภาพของโครงสร้างของหลังคาที่ทำหน้าที่ในการป้องกันลมฝนซึ่งจะอยู่ในบริเวณส่วนด้านหลังของอาคารให้แก่เพื่อนๆ ไปว่า ถึงแม้ส่วนของโครงสร้างอาคารพวกนี้จะเป็นเพียงส่วนโครงสร้างรองไมได้เป็นส่วนของโครงสร้างหลักของอาคารก็ตามแต่หากเราใช้ระบบโครงสร้างที่ขาดซึ่งเสถียรภาพที่ดีเพียงพอหรือมีความไม่เหมาะสมใดๆ ก็แล้วแต่ นั่นอาจจะเป็นต้นเหตุของปัญหาจุกจิกต่างๆ ของการใช้งานของโครงสร้างมากมายเลยก็ได้ เช่น อาจจะเกิดการทรุดตัวของโครงสร้างจนทำให้เกิดการดึงรั้งกันของโครงสร้างทั้งสองส่วนและอาจจะส่งผลทำให้เกิดน้ำรั่วซึมลงมา โดยเริ่มจากปริมาณน้ำน้อยๆ จนกลายเป็นน้ำปริมาณมากขึ้นๆ จนในที่สุดทำให้เกิดความน่ารำคาญใจขึ้น เป็นต้น … Read More

ความรู้เกี่ยวกับการทำงานเสาเข็มและฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อประมาณสองสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสสนทนากับท่านอาจารย์ทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างท่านหนึ่งที่ผมมีความเคารพนับถือท่านมากในประเด็นเกี่ยวกับเรื่อง การนำผลของโมเมนต์มาใช้ในการคำนวณหาค่าแรงเฉือนทะลุ ซึ่งผมต้องขอบพระคุณท่านอาจารย์ท่านนี้ที่ท่านได้ให้ความกรุณาสนทนาและแลกเปลี่ยนความรู้กับผมอยู่นานพอสมควร ซึ่งผมแค่คิดว่าหากนำเอามาสรุปให้เพื่อนๆ ได้เรียนรู้และทำความเข้าใจด้วยก็น่าจะเป็นการดี ผมจึงได้ทำการรวบรวมเอาเนื้อหาที่ผมได้พูดคุยกับท่านอาจารย์ท่านนี้เอาไว้ในโพสต์ๆ นี้ ซึ่งท่านอาจารย์ก็ได้ทำการตั้งคำถามกับบรรดาลูกศิษย์ของท่าน โดยผมทำการสรุปคำถามของท่านอาจารย์เอาไว้ดังต่อไปนี้ “โครงสร้างฐานรากที่เป็นแบบ … Read More

การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   สืบเนื่องจากเมื่อช่วงก่อนหน้านี้ผมได้รับคำถามผ่านเข้ามาทางช่องทางข้อความส่วนตัวของผมซึ่งคนที่ถามนั้นเป็นรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่ง ซึ่งคำถามก็มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องข้อกำหนดเกี่ยวกับเรื่อง การเปลี่ยนรายละเอียดต่างๆ ในการเสริมเหล็กในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยที่มีใจความของคำถามดังนี้ครับ “หากเดิมทีในแบบวิศวกรรมโครงสร้างได้ระบุเอาไว้อย่างชัดเจนว่า ให้ใช้คอนกรีตและเหล็กเสริมเป็นชั้นคุณภาพแบบใด ใช้ขนาดและจำนวนเป็นเท่าใด ไม่ทราบว่าหากผู้รับเหมาจะขอทำการเปลี่ยนในเรื่อง ชั้นคุณภาพ ขนาด … Read More

การเสริมเหล็กในพื้นยื่นคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของการที่เราต้องการที่จะทำการก่อสร้างพื้นยื่นคอนกรีตเสริมเหล็กหรือ REINFORCED CONCRETE CANTILEVER SLAB โดยที่จะมีจุดรองรับเป็นคานคอนกรีตเสริมเหล็ก ผลจากการออกแบบคือ … Read More

การปิดช่องว่างระหว่างคานรับพื้นชั้นล่างกับดินเดิม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของการที่เราต้องการที่จะทำการปิดช่องว่างระหว่างโครงสร้างคานซึ่งทำหน้าที่รับพื้นชั้นล่างกับดินเดิม ซึ่งหากตัวเลือกในการก่อสร้างคือ (A) ก่อผนังใต้คานโดยตรงโดยทำให้ผนังนี้้วางตัวอยู่บนโครงสร้างที่วางตัวอยู่บนดิน (B) … Read More

แรงภายในของโครงสร้างพื้นยื่นและวิธีในการพิจารณาออกแบบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   สืบเนื่องจากเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมานั้นได้เกิดเหตุโครงสร้างกันสาดนั้นเกิดการวิบัติลงมา ซึ่งผมเชื่อเหลือเกินว่าคงจะมีเพื่อนๆ หลายๆ คนที่มีความสงสัยว่า เพราะเหตุใดหนอเจ้าโครงสร้างกันสาดนี้จึงได้วิบัติลงมาได้ เอาเป็นว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาอธิบายถึงประเด็นๆ นี้ให้เพื่อนๆ ได้รับทราบไปพร้อมๆ กันแต่ก่อนอื่น ผมคงต้องขออธิบายแบบออกตัวเอาไว้ตรงนี้ก่อนว่า ผมไม่ได้จะบอกว่า … Read More

การตรวจสอบค่าการเสียรูปในโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ต่อเนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมเคยได้นำเอาเรื่องชนิดของโครงสร้างเหล็กรูปพรรณมาทำการอธิบายให้กับเพื่อนๆ ได้ทำความเข้าใจกันไปแล้วว่าจะประกอบไปด้วยประเภทของเหล็กกี่ประเภท ซึ่งผมได้ทำการให้คำอธิบายพร้อมกับยกตัวอย่างให้ไปเป็นที่เรียบร้อย ปรากฏว่าน้องท่านเดิมนี้ก็สอบถามผมเข้ามาเพิ่มเติมว่า เพราะเหตุใดเวลาที่ทำการออกแบบโครงสร้างเหล็ก เราจึงจำเป็นต้องทำการตรวจสอบค่าการเสียรูปด้วยแล้วเหตุใดเวลาที่ทำการออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก เราจึงไม่จำเป็นต้องทำการตรวจสอบค่าการเสียรูป ? ตอนแรกที่ผมได้ยินคำถามๆ นี้ผมก็ตกใจพอสมควรเพราะผมมีความคิดเห็นส่วนตัวว่า น้องท่านนี้รวมถึงเพื่อนๆ หลายๆ … Read More

ค่ากำลังรับแรงแบกทานของโครงสร้างฐานรากแบบตื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของรูปตัดของโครงสร้างฐานรากแบบตื้นโดยที่คุณสมบัติต่างๆ ของทุกๆ อย่างของทั้ง 3 กรณีนี้จะเหมือนกันทุกประการยกเว้นเพียงอย่างเดียวนั่นก็คือ … Read More

1 5 6 7 8 9 10 11 34