หน่วยแรงเฉือนตามแนวยาวในโครงสร้างคานเชิงประกอบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   ผมมีหน้าตัดของโครงสร้างเหล็กรูป C-LIGHT LIP อยู่คู่หนึ่งและเมื่อได้ทำการออกแบบให้โครงสร้างคานนี้มีสมรรถนะที่ดีทั้งในสภาวะกำลังและสภาวะการใช้งานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผมจึงทำการคำนวณค่า MAXIMUM … Read More

ประโยชน์ของเหล็กเสริมที่ผิวล่าง ซึ่งถูกวางอยู่ในบริเวณจุดรองรับของพื้นคอนกรีตอัดแรง แบบมีแรงยึดเหนี่ยว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้โพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง จุดประสงค์และประโยชน์ของการเสริมเหล็กที่ผิวด้านล่างของแผ่นพื้นที่บริเวณกึ่งกลางช่วงของพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดดึงเหล็กทีหลัง หรือ PRESTRESSED CONCRETE POST-TENSIONED SLAB ไปแล้ว ซึ่งวันนี้ผมเลยคิดว่าจะนำเอาความรู้ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเจ้าพื้นชนิดนี้เอามาฝากเพื่อนๆ กันอีกสักหนึ่งโพสต์นะครับ   โดยผมจะขอเริ่มต้นจากประโยชน์ของการเสริมเหล็กที่ผิวด้านล่างของแผ่นพื้นที่บริเวณกึ่งกลางช่วงของพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดดึงเหล็กทีหลังก่อน … Read More

การคำนวณหาค่าหน่วยแรงเฉือน ตามแนวยาวเพื่อนำมาใช้ในการออกแบบหน้าตัดเชิงประกอบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   เมื่อประมาณสองถึงสามสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้รับคำถามเข้ามาทางข้อความซึ่งมาจากน้องวิศวกรท่านหนึ่ง ซึ่งได้ทำการสอบถามผมเข้ามา โดยมีใจความของคำถามว่า “อยากไขข้อสงสัยเรื่องรอยเชื่อมบนโครงสร้างอเสเหล็ก จากรูปที่ 1 จะเห็นว่าเป็นแบบรอยเชื่อมคานอเสแบบประกบคู่ ซึ่งในแบบได้ทำการระบุความยาวรอยของเชื่อมเอาไว้ว่าให้มีระยะความยาวของรอยเชื่อมเท่ากับ 5 CM ทุกๆ … Read More

โครงสร้างฐานรากและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   เมื่อประมาณ 2 ถึง 3 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ได้มีเพื่อนที่เป็นแฟนเพจท่านหนึ่งได้สอบถามเข้ามาในโพสต์เก่าโพสต์หนึ่งที่ผมเคยได้เขียนเอาไว้เป็นบทความที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง การวิเคราะห์โครงสร้างเสาเข็มโดยใช้ SOIL SPRING โดยที่รายละเอียดของคำถามนั้นมีใจความดังต่อไปนี้ครับ … Read More

เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก และเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   สืบเนื่องจากโพสต์เมื่อวานนี้ที่ผมได้อธิบายให้แก่เพื่อนของพวกเราท่านหนึ่งที่เป็นแฟนเพจที่น่ารักของพวกเราซึ่งได้ให้ความกรุณาทำการสอบถามปัญหาเข้ามาข้อหนึ่งทางอินบ็อกซ์ของเพจโดยมีใจความของคำถามว่า “เพราะเหตุใดพอทำการสำรวจภายในส่วนของโครงสร้างเสาเข็มไมโครไพล์ของทางบริษัทภูมิสยามจึงไม่พบว่ามีการใช้ลวด PC WIRE หรือลวดอัดแรงเลยครับ?”   ซึ่งผมก็ได้ให้คำอธิบายไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วว่าเป็นเพราะเหตุใด ปรากฏว่าก็ได้มีคำถามจากเพื่อนบนเฟซบุ้คของผมท่านหนึ่งว่า “อยากให้ผมยกตัวอย่างรูปจริงๆ ของโครงสร้างเสาเข็มประเภทที่เป็น เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือ REINFORCED-PRECAST … Read More

โครงสร้างเหล็กรูปพรรณที่ได้ถูกนำไปใช้ในงานวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ   เนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมเคยได้นำเอาเรื่องชนิดของโครงสร้างเหล็กรูปพรรณมาทำการอธิบายให้กับเพื่อนๆ ได้ทำความเข้าใจกันไปแล้วว่าจะประกอบไปด้วยประเภทของเหล็กกี่ประเภท ก็มีคำถามเข้ามาจากน้องท่านหนึ่งในทำนองที่ว่า ยังไม่ค่อยเข้าใจความแตกต่างระหว่าง “โครงสร้างเหล็กเสริมที่ใช้ในงานวิศวกรรมคอนกรีตเสริมเหล็ก” กับ “โครงสร้างเหล็กรูปพรรณที่ใช้ในงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็ก” ผมจึงคิดว่า จะมาทำการอธิบายประเภทของเหล็กเสริมทั้ง 2 ชนิดนี้ให้แก่เพื่อนๆ … Read More

เหล็กเสริมที่ใช้ในงานวิศวกรรมคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ   เนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมเคยได้นำเอาเรื่องชนิดของโครงสร้างเหล็กรูปพรรณมาทำการอธิบายให้กับเพื่อนๆ ได้ทำความเข้าใจกันไปแล้วว่าจะประกอบไปด้วยประเภทของเหล็กกี่ประเภท ก็มีคำถามเข้ามาจากน้องท่านหนึ่งในทำนองที่ว่า ยังไม่ค่อยเข้าใจความแตกต่างระหว่าง “โครงสร้างเหล็กเสริมที่ใช้ในงานวิศวกรรมคอนกรีตเสริมเหล็ก” กับ “โครงสร้างเหล็กรูปพรรณที่ใช้ในงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็ก” ผมจึงคิดว่า จะมาทำการอธิบายประเภทของเหล็กเสริมทั้ง 2 ชนิดนี้ให้แก่เพื่อนๆ … Read More

การก่อสร้างโครงสร้างโครงข้อหมุนให้มีความแข็งแรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปโครงสร้างโครงข้อหมุนทั้ง 3 รูปที่แสดงอยู่ในโพสต์ๆ นี้ หากทั้งชิ้นส่วนที่อยู่ในคอร์ดบนหรือ TOP … Read More

ค่าสัดส่วนของการหน่วงในโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ในเรื่องวิศวกรรมพลศาสตร์ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมให้รายชื่อประเภทของโครงสร้างมาดังต่อไปนี้ โครงสร้างเหล็ก โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก โครงสร้างไม้ จงทำการเรียงลำดับประเภทของโครงสร้างที่จะมีค่าสัดส่วนของความหน่วง หรือ DAMPING RATIO … Read More

เครื่องคำนวณยี่ห้อ TaxasInstrument รุ่นTI92Plus

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ   เนื่องจากเมื่อประมาณ 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมานั้นบังเอิญว่าได้มีน้องผู้หญิงท่านหนึ่งได้ฝากคำถามสั้นๆ เข้ามาทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมว่า “หนูกำลังจะเรียนจะเรียนจบในระดับปริญญาตรีในสาขาวิศวกรรมโยธาและหลายๆ ครั้งในคลิปก็มักจะเห็นผมใช้เครื่องคำนวณแปลกๆ เลยอยากจะขอถามว่า มันคือเครื่องคำนวณยี่ห้อและรุ่นอะไรและหนูจำเป็นต้องไปซื้อหามาใช้บ้างมั้ยคะ ?” ตอนแรกที่ผมได้ยินคำถามๆ นี้ … Read More

1 6 7 8 9 10 11 12 34